Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำนักข่าวกรองแห่งชาติ, สำนัก, แห่ง, ชาติ, ข่าว, กรอง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนักข่าวกรองแห่งชาติ, 1452 found, display 251-300
  1. ขุทฺทกนิกาย : ป. ขุททกนิกาย, ชื่อคัมภีร์หมวดที่ห้าแห่งสุตตันตปิฎก
  2. ขุทฺทกปาฐ : ป. ชื่อคัมภีร์เล่มแรกแห่งขุททกนิกาย
  3. ขุรคฺค : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งกรรมอัน บุคคลพึงทำด้วยมีดโกน (ปลงผมเสร็จ), ขณะโกนผมเสร็จ, ขณะปลงผมเสร็จ. วิ. ขุเรน กตฺตพฺพกมฺมสฺส อคฺโค ขุรคฺโค.
  4. ขุรธาร : (ปุ.) คมแห่งมีดโกน, คมมีดโกน.
  5. คคน : (นปุ.) ที่เป็นที่ไปแห่งนก, กลางหาว, อากาศ, ฟ้า, ท้องฟ้า. วิ. คจฺฉานฺเตตฺถ วิหงฺคมาทโยติ คคนํ. คมฺ คติยํ, ยุ, มสฺส โค. เมฆ พระอาทิตย์? เป็น คคณ บ้าง.
  6. คณ : (ปุ.) การนับ, การคำนวณ, หมวด, หมู่, ฝูง, พวก, ปนะชุม, หมู่แห่งภิกษุ, คณะ (กลุ่มชนกลุ่มหนึ่งๆ หรือแผนกหนึ่งๆของ มหาวิทยาลัย). วิ. คณียติ อวยเวน สหาติ คโณ. คณฺ สํขฺยาเณ, อ.
  7. คณฺฐ : (ปุ.) ตำรับ, ตำรา, คัมภีร์, สมุด, หนังสือที่แต่งขึ้น, หนังสือที่ร้อยกรองขึ้น. คนฺถฺ สนฺถมฺเภ, พนฺธเน จ, อ, นฺถสฺส ณฺโฐ.
  8. คณี : (ปุ.) คณีใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า แปลว่าทรงมีคณะคือหมู่แห่งพระสงฆ์.
  9. คเณส : (ปุ.) พระคเณส พระคเณศ ชื่อเทพ องค์หนึ่งมีเศียรเป็นช้างเป็นเทพแห่งศิลปะ วิฆเนศ พิฆเนศ คเณศ พิฆเนศวร วิฆเนศวร ก็เรียก.
  10. คตตฺต : นป. ความเป็นแห่ง....ผู้ไปแล้ว
  11. คนฺถ : (วิ.) แต่ง, ร้อยกรอง, เรียบเรียง.
  12. คนฺถการ : ป. ผู้แต่งหนังสือ, ผู้ร้อยกรอง, ผู้รจนาพระคัมภีร์
  13. คนฺถน : นป. การถัก, การบิด; การแต่งความ, การร้อยกรอง
  14. คนฺธชาต : นป. คันธชาติ, ของหอม
  15. คนฺธรส : (ปุ.) รสแห่งของหอม, รสหอม, มด ยอบ ชื่อยางไม่ชนิดหนึ่งมีกลิ่นหอม ใช้ เป็นเครื่องยาและอบกลิ่น.
  16. คนฺธสาลิตณฺฑุลภตฺต : (นปุ.) ภัตแห่งข้าวสาร แห่งข้าวสาลีมีกลิ่นหอม. เป็น ฉ. ตัป. มี ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. วิเสสนปุพ. กัม. และ ฉ. ตัป. เป็นภายใน.
  17. คพฺภปาตน : นป. การตกไปแห่งครรภ์, การแท้งลูก
  18. คพฺภมล : นป. มลทินแห่งครรภ์, รก (เครื่องสำหรับหล่อเลี้ยงเด็กในครรภ์แนบอยู่กับมดลูกมีสายล่ามมาที่สะดือเด็ก)
  19. คพฺภวุฏฺฐาน : (นปุ.) การออกแห่งสัตว์ผู้เกิดใน ท้อง, การออกแห่งสัตว์ผู้เกิดในครรภ์, การคลอดลูก.
  20. คพฺภสหสฺสปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ประดับแล้วด้วย พันแห่งห้อง.
  21. คมนการณ : นป. เหตุแห่งการไป
  22. คลปฺปริโยสาณ : ค. อันเป็นที่สุดแห่งคอ
  23. ควฺย : ค. แห่งวัว
  24. คหฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้ดำรงอยู่ในเรือน, คนครอง เรือน, คหัฐ คฤหัสถ์ (คนครองเรือน ไม่ ใช่นักบวช). วิ. เคเห ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ คนผู้ดำรงอยู่ในป่าคือกิเลส, คนผู้ดำรงอยู่ ในเรือนด้วยสามารถแห่งความกำหนัด ในกามคุณห้า วิ. เคเห ปญฺจกามคุเณ ราควเสน ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ. คหปุพฺโพ ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ.
  25. คหปตานี : (อิต.) หญิงผู้เป็นเจ้าแห่งเรือน, ฯลฯ.
  26. คหิตภาว : ป. ความที่แห่ง...อันเขาถือเอาแล้ว, ความยึดเอา
  27. คาถาทฺวย : นป. หมวดสองแห่งคาถา, คาถาสองคาถา
  28. คาถาปริโยสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงรอบแห่ง คาถา, การเป็นที่จบลงแห่งคาถา.
  29. คาถาวณฺณนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, กถาเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, วาจาเป็นเครื่อง พรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, การพรรณ- นาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา. วิ. คาถตฺถสฺส วณฺณนา วา คาถา วณฺณนา. คาถาย อตฺถสฺส
  30. คาถาวสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งคาถา, กาลเป็นที่จบลงแห่งคาถา.
  31. คาธ : (ปุ.) ความเป็นที่พึ่ง, ความเป็นที่อาศัย, การนับเข้า, การรวมเข้า, การหยั่งลง, ความหยั่งลง, การแต่งตั้ง, การร้อยกรอง, ฝั่งน้ำ. คาธุ ปติฏฺฐนิสฺสยคนฺเถสุ, อ.
  32. คามก : (ปุ.) ประชุมแห่งบ้าน, หมู่บ้าน. กณฺ ปัจ. สมุหตัท.
  33. คามตา : (อิต.) ประชุมแห่งชาวบ้าน.
  34. คามสนฺโทห : (ปุ.) หมู่แห่งบ้าน, หมู่บ้าน.
  35. คามิย : (วิ.) อันเป็นของผู้มีอยู่แห่งชาวบ้าน วิ. คามสฺส สนฺตกํ คามิยํ. อิย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๕. หรือลง ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. แปลง ก เป็ฯ ย.
  36. คามูปจาร : ป. อุปจารแห่งบ้าน, ที่ใกล้บ้าน, ชานบ้าน, นอกบ้าน
  37. คารว : (ปุ.) การยกไว้เป็นของสูง, การยกไว้ในเบื้องสูง, การนับถือ, การนบนอบ, การเคารพ, ความนับถือ, ฯลฯ. วิ. ครุโนภาโว คารโว (ความเป็นแห่งผู้หนัก). ณ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ทีฆะ อ ที่ ค เป็น อา, รูปฯ ๓๗๒ ว่า แปลง อุ เป็น อว. ส. เคารว.
  38. คิรา : (อิต.) สัททชาติอันบุคคลพึงเปล่ง, วาจา อันบุคคลพึงเปล่ง. วิ. เคตพฺพาติ คิรา. เสียง ที่เปล่ง, ถ้อยคำ, วาจา, คำพูด. เค สทฺเท, อิโร
  39. คิริคุหา คิริคูหา : (อิต.) ช่องแห่งภูเขา, ถ้ำ.
  40. คุณคณ : อิต. หมวดแห่งคุณ, กองแห่งคุณ
  41. คุณเทสนาปริยตฺตินิสฺสตฺตนิชฺชีววส : (วิ.) อันสามารถแห่งคุณธรรมและเทสนาธรรม และปริยัติธรรม และนิสสัตตนิชชีวธรรม.
  42. คุณากร : (ปุ.) บ่อเกิดแห่งความดี.
  43. เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  44. เคลญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเจ็บ, ความเป็นแห่งความเจ็บไข้, ฯลฯ, ความเป็นแห่งคนเจ็บ, ฯลฯ. วิ. คิลานสฺส ภาโว เคลญฺญ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ความเจ็บ, ฯลฯ, ความไม่สบาย, โรค. ณฺย ปัจ. สกัด.
  45. เคหวิคต : นป. ทรัพย์สมบัติแห่งบ้านเรือน, อุปกรณ์แห่งเรือน
  46. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  47. โคโคตฺต : (นปุ.) โคตรแห่งพระอาทิตย์, โคตรพระอาทิตย์.
  48. โคจร : (วิ.) เป็นที่เที่ยวไปแห่งอินทรีย์ วิ. คาโว อินฺทฺริยานิ จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร. เป็นที่เที่ยวไปราวกะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค. วิ. คาโว จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร. เที่ยวไป, ว่าย อุ. วาริโคจโร (ปลา) ว่ายในน้ำ. โคปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, อ.
  49. โคจรคาม : (ปุ.) บ้านเป็นที่เที่ยวแห่งภิกษุราว กะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, โคจรคาม คือ บ้านที่ภิกษุไปบิณฑบาตเสมอหมู่บ้านที่เป็นที่เที่ยวไปบิณฑบาตเสมอ หมู่บ้านที่ เป็นที่เที่ยวไปบิณฑบาตของสมณะ.
  50. โคตถุล : (ปุ.) เชื้อชาติ, วงศ์ตระกูล. โคตฺถํ ลาตีติ โคตฺถุโล. โคตฺถุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ. โคตฺถุ วํเส, อโล. รูปฯ ๖๕๙.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1452

(0.0732 sec)