Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สำนักข่าวกรองแห่งชาติ, สำนัก, แห่ง, ชาติ, ข่าว, กรอง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สำนักข่าวกรองแห่งชาติ, 1452 found, display 301-350
  1. โคปติ : ป. เจ้าแห่งโค
  2. โคมณฺฑล : นป. มณฑลแห่งโค, สนามโค
  3. โคลกฺขณ : นป. ลักษณะแห่งโค, การทำนายโชคชะตาโดยดูลักษณะของโค
  4. : (ปุ.) คันไถ, คู่แห่งคันไถ, ระฆัง, ระฆัง ใหญ่. ฆธาตุ อสหเณ อขนฺติยํ วา, อ.
  5. ฆฏาทิสกล : (ปุ. นปุ.) ส่วนแห่งวัตถุมีหม้อ เป็นต้น.
  6. ฆนเสลปพฺพต : (ปุ.) ภูเขาเป็นวิหารแห่งหิน เป็นแท่ง, ภูเขาเป็นแท่งทึบ.
  7. ฆโนปล : (นปุ.) ลูกเห็บ คือเม็ดน้ำแข็งที่ตกลง มาจากอากาศเมื่อฝนตก วิ. ฆนโต ฆนกาเล วา สญฺชาติ อุปสํ สิลา ฆโนปล.
  8. ฆรสนฺธิ : อิต. ที่ต่อหรือรอยแยกแห่งเรือน
  9. ฆานธาตุ : อิต. ฆานธาตุ, ธาตุแห่งการรับรู้กลิ่น
  10. โฆสก : (นปุ.) คนผู้ประกาศ, คนผู้ป่าวร้อง, คนโฆษณา, คนแถลงข่าว. ส. โฆษก.
  11. จกฺกนฺต : (ปุ.) ดุมแห่งรถ, ดุมรถ.
  12. จกฺกยุค : นป. คู่แห่งล้อ, ล้อรถทั้งคู่
  13. จกฺกวาลคพฺภ : ป. ห้องแห่งจักรวาล, ภายในจักรวาล
  14. จกฺกวาฬมุขวฏฺฏิ : (อิต.) ขอบแห่งปากแห่ง จักรวาฬ.
  15. จกฺขุทฺวาร : (นปุ.) ช่องแห่งตา วิ. จกฺขุสฺส ทฺวารจกฺขุทฺวร.ช่องคือตาวิ. จกฺขุ เอว ทฺวารํ จกฺขุทฺวารํ.
  16. จกฺขุปถ : ป. คลองแห่งจักษุ, วิถีแห่งจักษุ, ทัศนวิสัย
  17. จกฺขุสมฺผสฺส : (ปุ.) การถูกต้องพร้อมแห่งตา, การถูกต้องทางตา. จกฺขุสฺส (วิ) เกื้อกูลแก่จักษุ วิ.จกฺขุโน หิต จกฺขุสฺส สฺสปัจโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๗๑
  18. จงฺควาร : ป. หม้อกรองน้ำด่าง, หม้อกรองน้ำนม
  19. จณฺฑิกฺก : (นปุ.) ความเป็นแห่งคนดุร้าย, ฯลฯ จณฺฑาล + กณฺ ปัจ. ภาวตัท แปลง อา เป็น อิ แปลง ล เป็น ก.
  20. จตฺตารีส จตฺตาลีส จตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบ. แปลง ทส ที่แปลว่า สี่สิบ (สี่แห่งสิบสี่ หน คือ ๑๐ x ๔) หรือ จตุกฺก ที่แปลว่า หมู่สี่แห่งสิบ เป็น จตฺตาร ลง โย วิภัติ แปลง โย เป็น อีสํ ลบนิคคหิต ศัพท์ที่ ๒,๓ เพราะ แปลง ร เป็น ล, ฬ. รูปฯ ๓๙๗.
  21. จตฺตาฬีสภิกฺขุสหสฺส : (นปุ.) พันแห่งภิกษุสี่สิบ (ภิกษุสี่หมื่นรูป).
  22. จตุกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต.) สิ้นสี่ครั้ง, สิ้นสี่คราว, สิ้นสี่หน. กฺขตฺตุ ปัจ. ลงในอรรถแห่งวาร ศัพท์ สัมพันธ์ว่า อัจจันตสังโยคะ วิ. จตฺตาโร วาเร จตุกฺขตฺตู กัจฯ ๖๔๖ รูปฯ ๔๐๓. สี่ครั้ง, สี่คราว, สี่หน. สัมพันธ์ เป็นกิริยาวิเสสนะ.
  23. จตุจตฺตาฬีสโกฏิธนฏฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่ตั้ง แห่งทรัพย์มีโกฏิสี่สิบสี่เป็นประมาณ, ที่ เป็นที่ตั้งแห่งทรัพย์ มีโกฏิสี่สิบสี่, ที่เป็น ที่ตั้งแห่งทรัพย์สี่สิบสี่โกฏิ.
  24. จตุชาต : ค. (ของหอม) ซึ่งเกิดแต่คันธชาติสี่, มีส่วนประกอบสี่อย่าง
  25. จตุชาติคนฺธ, จตุชฺชาติยคนฺธ : ป. ของหอมมีชาติสี่, คันธชาติสี่ชนิด คือ ๑. กุงฺกุม = หญ้าฝรั่น ๒. ตคล = กฤษณา ๓. ตุรุกฺข = กำยาน ๔. ยานปุปฺผา = บุปผชาติอันมีในแดนโยนก
  26. จตุพคฺค จตุพฺพคฺค จตุวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่ง วัตถุสี่ที่ควรแสวงหา ได้แก่ธรรม คือหน้า ที่ ๑ กามะคือความสุข ๑ อรรถะ คือ ทรัพย์ สมบัติ ๑ โมกขะ คือ พระนิพพาน ๑ วิ จตฺตาโร วคฺคา โมกฺขสหิตา ธมฺมกามตฺถา จตุพคฺโค จตุพฺพคฺโค วา จตุวคฺโค วา, อภิฯ
  27. จตุพฺพคฺค : ป. หมวดแห่งวัตถุสี่ที่มนุษย์ต้องการ ๑. ธมฺม - สมาจาร ๒. กาม - สุข ๓. อตฺถ - ปัจจัย ๔. โมกฺข - นิพพาน
  28. จตุมาสจฺจย : (วิ.) อันเป็นไปล่วงแห่งเดือนสี่, อันเป็นไปล่วงสิ้นเดือน ท. สี่, สิ้นเวลา สี่เดือน.
  29. จตุราสีติโยชนสตสหสฺสุพฺเพธ : (วิ.) มีแสนแห่ง โยชน์แปดสิบสี่เป็นส่วนสูง, สูงแปดสิบสี่ แสนโยชน์, สูงแปดโกฏิสี่แสนโยชน์.
  30. จตุราสีติโยชนสหสฺสคมฺภีร : (วิ.) อันลึกสิ้นพ้น แห่งโยชน์แปดสิบสี่, มีพันแห่งโยชน์แปด สิบสี่เป็นส่วนลึก, ลึกแปดหมื่นสี่พันโยชน์. เป็น ฉ. ตุล มี ฉ.ตัป และ ส.ทิคู. เป็น ท้อง มีลึกมีพันแห่งโยชน์แปดสิบสี่เป็น ประมาณ ตั้ง วิ. เพิ่ม ฉ.ตุล ต่อจาก ส.ทิคุ อีก ๑ สมาส.
  31. จนฺทคฺคาห : ป. การจับพระจันทร์ (แห่งอสุรินทราหู), จันทรคราส, จันทรุปราคา
  32. จนฺทนคนฺธี : ค. มีกลิ่นแห่งไม้จันทน์, มีกลิ่นดุจไม้จันทน์
  33. จนฺทมณฺฑล : นป. จันทมณฑล, มณฑลแห่งพระจันทร์, วงรัศมีแห่งพระจันทร์, วงเดือน
  34. จมูนาถ : ป. นายทหารผู้เป็นที่พึ่งแห่งกองทัพ, นายทัพ, นายพล
  35. จมูปติ : (ปุ.) คนผู้เป็นใหญ่แห่งกองทัพ, แม่ทัพ, เสนาบดี.
  36. จริยวส จริยาวส : (ปุ.) อำนาจแห่งจริยาอัน ตนพึงประพฤติ, อำนาจแห่งจริยะ, อำนาจ แห่งจริยา.
  37. จาตุมฺมหาปถ : (ปุ.) ทางใหญ่สี่, ภูมิภาคเป็น ที่ประชุมแห่งทางใหญ่สี่, หนทางเป็นที่ ไปแห่งทางใหญ่สี่, ทางใหญ่สี่แพร่ง.
  38. จาตุมฺมาสินี : อิต. ดิถีเป็นที่เต็มแห่งเดือนทั้งสี่, วันเพ็ญแห่งเดือนที่สี่ (ของแต่ละฤดู)
  39. จาตุรนฺต : (ปุ.) เจ้าแห่งทิศสี่, เจ้าแห่งทิศทั้งสี่. จตุ + อนฺต รฺอาคม.
  40. จาปลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประดิษฐ์ ประดอย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประพฤติ โดยพลัน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พลิก แพลง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้โลเล, ฯลฯ. จปลสฺส ภาโว จาปลฺยํ. ณฺย ปัจภาวตัท. การชอบตกแต่ง, ฯลฯ. ณฺย ปัจ. สกัด.
  41. จารปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เที่ยวไป, บุรุษผู้สอดแนม, แนวที่ห้า, จารบุรุษ (ผู้หาข่าวฝ่ายข้าศึกมา ให้ฝ่ายตน).
  42. จาลนี : อิต. เครื่องกรอง (ยา), ตะแกรงร่อนยา
  43. จิงฺคุลก, - คูลก : นป. ลูกเดือย, (บางแห่งเป็น ฑิงฺคุลก ก็มี เป็น ฑงฺคุลก ก็มี)
  44. จิตฺตกฺเขป : ป. ความฟุ้งซ่านแห่งจิต, ความวิกลจริต
  45. จิตฺตกลฺลตา : อิต. ความพรั่งพร้อมแห่งจิต, การฉับไวแห่งจิต
  46. จิตฺตกลิ : ป. ความชั่วร้ายแห่งจิต, โทษของจิต, จิตที่ชั่วช้า, จิตที่ต่ำทราม
  47. จิตฺตกิเลส : ป. สิ่งที่ทำให้จิตเศร้าหมอง, ความเศร้าหมองแห่งจิต
  48. จิตฺตเกฬิสา : อิต. ความรื่นรมแห่งจิตใจ
  49. จิตฺตปริยาย : ป. ปริยายแห่งจิต, การกำหนดรู้จิต
  50. จิตฺตปสฺสทฺธิ : อิต. ความสงบแห่งจิต, ความระงับแห่งจิต
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1452

(0.0657 sec)