Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หลังเต่า, เต่า, หลัง , then ตา, เต่า, หลง, หลงตา, หลํ, หลัง, หลังเต่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หลังเต่า, 1459 found, display 1101-1150
  1. จตุรสฺส : (วิ.) มีมุมสี่ ( สี่มุม ) วิ. จตฺตาโร อํสา ยสฺสา สา จตุรสฺสา ลบนิคคหิต รฺ อาคม แปลง ส เป็น สฺส ฎีกาเวสฯ ๕๓๑ ไทย ใช้จตุรัส จัตุรัส ในความหมายว่าสี่เหลี่ยม ด้านเท่า.
  2. จปล : (วิ.) ประพฤติผิดโดยไม่ตริตรองเสียก่อน, ประพฤติผิดโดยพลัน, กลับกลอก, โยก, โคลง, ไหว, หวั่นไหว, ไม่แน่นอน, พลิก- แพลง, รวดเร็ว. จปฺ กกฺกนสนฺตาเนสุ, อโล. อถวา, จุป จลเน, อโล. วิ. จุปติ เอกตฺเถ น ติฏฺฐตีติ จปโล. อุสฺส อตฺตํ.
  3. จมฺเปยฺย : (ปุ.) จำปา, ต้นจำปา, จำปาเทศ, มะม่วง, ต้นมะม่วง. วิ. ปฐมกาเล จมฺปา- นคเร ชาตตฺตา จมฺเปยฺโย เอยฺยปัจ.
  4. จมฺมมาลุก : ป. ดู จมฺมภสฺตา
  5. จาตุมฺมหาราชิก : (วิ.) (เทวดา) ชั้นจาตุมมหา- ราช วิ. จาตุมฺมหาราเชสุ ภตฺติ เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้ภักดีในท้าวมหาราช ทั้งสี่องค์ ). รูปฯ ๓๖๐. จาตุมฺมหาราเชสุ ถตฺตา เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้รับ ใช้ในท้าวมหาราชทั้งสี่องค์). โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๒ ณิกปัจ. สกัด.
  6. จาปลฺล : ดู จปลตา
  7. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  8. จิตฺต : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยฤกษ์จิตตา, เดือน จิตตะ, เดือนห้า. วิ. จิตฺตาย ยุตฺโต มาโส จิตฺโต. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  9. จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบสี่ วิ. จตฺตาโร จ ทสา จาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตูหิ วา อธิกา ทสาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตุ+ทส ลบ ตุ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลง โย วิภัตินาม ลบโยรูปฯ๒๕๖,๓๙๑. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๐ ว่าแปลง จตุ เป็น จุ, โจ ซ้อน ทฺ เป็น จุทส โจทส โดยไม่ซ้อนบ้าง.
  10. จูฬามณิ : (ปุ.) ปิ่น วิ. มกุฎจูฬาย จุมฺพิตา มณิ จูฬามณิ.
  11. ฉพฺพคฺคิย : (วิ.) มีพวกหก. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท
  12. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  13. ชฎา : (อิต.) ความอยาก, ความปรารถนา, กิเลส, ตัณหา. วิ. เตสุ อารมฺมเณสุ อากุ- ลีภูตตฺตา ชฎา วิยาติ ชฏา.
  14. ชนฺตาฆร : (นปุ.) เรือนเป็นที่รักษาซึ่งชน ผู้ ผจญซึ่งไพรีคือโรค, เรือนไฟ โรงไฟ (ห้องสำหรับรมไฟเพื่อให้เหงื่อออก). วิ. ชนฺตา เอว ฆรํ ชนฺตาฆรํ.
  15. ชาติย : (วิ.) เกิดแล้วโดยชาติ วิ. ชาติยา ชาโต ชาติโย. อิยปัจ. ชาตาทิตัท.
  16. ชาลินี : (อิต.) ตัณหา. ตัณหามีข่าย, ตัณหาเพียง ดังข่าย. วิ. สํสารโต นิสฺสริตํ อปฺปทาน- วเสน ชาลสทิสตฺตา ชาลินี. ชาลศัพท์ อินี ปัจ ลงใน อุปมา.
  17. ชิวฺหา : (อิต.) ลิ้น ( อวัยวะสำหรับลิ้มรส ) วิ. ชีวนฺติ เอตายาติ ชิวฺหา. ชีวิตนิมิตฺตํ รโส ชีวิตํ นาม, ตํ อวฺหยตีติ วา ชิวฺหา. ชีวฺ ปาณธารเณ, โห, รสฺสตฺตํ. ส. ชิวฺหา.
  18. ชีวนี ชีวนฺตี : (อิต.) เทียนเยาวพาณี วิ. ชีวนฺติ เอตายาติ ชีวนี ชีวนฺตี วา. ชีวฺ+ยุ, อนฺต ปัจ. อี อิต.
  19. ชีวิตมท : ป. ความมัวเมาในชีวิต, ความหยิ่งในชีวิต, ความหลงในชีวิต
  20. เชตุตฺตร : (นปุ.) เชตุดร ชื่อนครพิเศษ ๑ ใน ๒0 ของอินเดียโบราณ. วิ. เจติยรรฏฺเฐ อุตฺตมตฺตา เชตุตฺตรํ. แปลง จ เป็น ช ม เป็น ร. เวริชยฏฺฐานตฺตา เชตพฺพํ จ ตํ อุตฺตมตฺตา อุตฺตรํ จาติ วา เชตุตฺรํ. เป็น เจตุตฺตร บ้าง.
  21. โชติสตฺถ : (นปุ.) ตำราดาว, โชติศาสตร์ ชื่อ วิธีเรียนเวทอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง ให้รู้จัก ดาว หาฤกษ์ และผูกดวงชตา.
  22. ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
  23. ญาณทสฺสนวิสุทฺธิ : (อิต.) ความบริสุทธิ์แห่ง ความรู้และการเห็นพระนิพพาน (เหมือน เห็นด้วยตาเนื้อ), ปัญญาที่บริสุทธิ์แห่ง ญาณทัสสนะได้แก่ญาณในอริยมรรคทั้ง ๔.
  24. ตจปญฺจก : นป. (กรรมฐาน) มีหนังเป็นที่ห้าคือ เกสา, โลมา, นขา, ทนฺตา, ตโจ
  25. ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
  26. ตนย : (ปุ.) ลูก, ลูกชาย, ดนัย. วิ. ตนุมฺหา ชาโต ตนโย. ตนุ + ย ปัจ. ชาตาทิตัท. ตโนติ มุท มิติ วา ตนโย. ตนุ วิตฺถาเร, อโย, โย วา.
  27. ตป : (ปุ.) ความเพียร เครื่องเผากิเลส, คุณ ธรรมอันยังกิเลสให้ร้อน, คุณธรรมอันยัง กิเลสให้เร่าร้อน (แห้ง), ความร้อน, ความสำรวม, ความเพียร, ธรรม, วัตร, พรต (ธรรมมีศีลเป็นต้น ความบำเพ็ญพรตเผา กิเลส), ศีล, ตบะ. วิ. กิเลเส ตาเปตีติ ตโป. ตปฺ ทาเห สนฺตาเป วา, อ. ส. ตปสฺ.
  28. ตปฺปร : (วิ.) ผู้มีสิ่งนั้น ๆ เป็นประธาน, ผู้มี ความเพียร, ผู้เอาใจใส่, ผู้ตั้งหน้า, ผู้ตั้ง หน้าตั้งตา (ตั้งใจทำ ทำอย่างจริงจัง ทำ อย่างมุ่งมั่น). วิ. ตํ ตํ จตฺถุ ปรํ ปธาน มสฺสาติ ตปฺปโร ลบ ต หนึ่งศัพท์.
  29. ตาต : (อาลปนะ) ใช้เป็นคำเรียก แปลว่า พ่อ ( ไม่ใช่พ่อผู้ให้กำเนิดลูก ) เป็นคำสุภาพ ใช้เรียกได้ทั่วไป เอก. เป็น ตาต พหุ เป็น ตาตา.
  30. ตายน : (นปุ.) การสืบต่อ, การติดต่อ, การเลี้ยง, การเลี้ยงดู, การระวัง. การป้องกัน การรักษา, ความสืบต่อ, ฯลฯ. ตายุ สนฺตานปาลเนสุ, ยุ.
  31. ตาล : (ปุ.) ตาล, ต้นตาล, โตนด ต้นโตนด (ต้นตาล). สมอพิเภก, กำมะถันเหลือง, ต้นปาล์ม, ตาละ ชื่อผักชนิดหนึ่ง, ดาล ชื่อกลอนประตู ซึ่งทำด้วยไม้ สำหรับขัด บานประตูที่มีไม้บากเท่าลูกตาล ติดไว้กึ่ง กลางบานประตูด้านในทั้งสองข้าง, ลูกดาล คือเหล็กสำหรับไขบานประตู, กุญแจ, สลัก, กลอน, เข็มขัด, หมุด, ฉิ่ง, ฉาบ, ดินหอม, ง้วนดิน, ที่นั่งของทุรคา. ตลฺ ปติฏฐายํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. ตาล.
  32. ตาลวณฺฏ : (นปุ.) พัด ( เครื่องโบก หรือ กระพือลม ), พัดใบตาล. ตาลวณฺเฏหิ กตฺตตา ตาลวณฺฏํ.
  33. ตาลุ : (ปุ.) เพดาน, เพดาลปาก. วิ. ตลนฺติ เอตฺถ ทนฺตาติ ตาลุ ( เป็นที่ตั้งแห่งฟัน). ตลฺ ปติฏฺฐายํ ณุ. รูปฯ ๖๓๕ ตั้ง ตรฺ ตรเณ, ณุ. แปลง ร เป็น ล. ส. ตาลุ.
  34. ติทส : (ปุ.) เทวดามีชายสาม (ชายผ้า), เทวดามีชายผ้าสาม, ติทสา ชื่อของเทวดา ชื่อที่ ๑ ใน ๑๔ ชื่อใช้เป็นพหุ. ทั้ง ๑๔ ชื่อ, เทวดา. ดูอภิฯคาถาที่๑๑และ๑๒. ติ+ทสา (ชาย ชายผ้า). วิ. ชาติสตฺตาวินาสสํขาตา ติสฺโส ทสา ปริมาณา เอเตสนฺติ ติทสา.
  35. ติปุ : (ปุ.) กาฬโลหะ, ดีบุก, ตะกั่วนม, เหล็กวิลาส. ติปฺ ปีฬเน, อุ. ตปฺ สนฺตาเป วา. อุ, อสฺสิตฺตํ. วิ. ตาปิยตีติ ติปุ. ส. ตฺรปุ ตฺรปุส.
  36. ติโรกรณี : (อิต.) ผ้าม่าน วิ. ติโร กรียติ ปถียติ ยาย สา ติโรกรณี. เวสฯ ๕๐๖ วิ. ติโร กโรนฺติ เอตายาติ ติโรกรณี.
  37. ติลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอันเป็นเครื่อง กำหนดสาม, ลักษณะสำหรับพิจารณา สาม, ลักษณะสาม, ไตรลักษณะ, ไตร- ลักษณ์ คือลักษณะที่เป็นสามัญทั่วไปแก่ สังขาร ทั้งหลายมี ๓ คือ อนิจฺจตา ทุกขฺตา อนตฺตตา. ส. ตฺริลกฺษณ ไตฺรลกฺษณฺ.
  38. ตุลา : (อิต.) ขื่อ, เสาขื่อ, ไม้ขื่อ, รอด, เสาดั้ง. วิ. ตุลยติ สํฆาเฏสุ ปติฏฐาตีติ ตุลา. ตุลฺ ปติฏฐายํ, อ, อสฺสุตฺตํ. ปกฺขานํ สมตาหิต ภาวกรณโต ตุลยติ เอตายาติ วา ตุลา. ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  39. เตตฺตึส : (วิ.) (ที่) เป็นที่เกิดของเทวดาสาม สิบสององค์ วิ. เตตฺตึส เทวตา นิพฺพตฺตนฺติ เอตฺถาติ เตตฺตึส.
  40. โตรณ : (นปุ.) เสาค่าย, เสาระเนียด, ทวาร, โขนทวาร (ประตูป่า ประตูป่าที่ทำตาม ตำราพราหมณ์), เสาไต้, ซุ้ม. วิ. ถวนฺตา รณนฺตฺยเตรติโตรณํ. ถิ+รณ แปลง อิ เป็น โอ ถฺ เป็น ตฺ. อุปริมาลาทิยุตฺตโสภณ- ถมฺภทฺวย มุภยโต นิกฺขมิตฺวา ยํ พหิทฺวารํ กปฺปิยเต ตํ โตรณํ. ตุรฺ สีฆคติยํ, ยุ. ส. โตรณ.
  41. ถญฺญ : (นปุ.) นม (น้ำที่ออกจากเต้านม), น้ำนม, น้ำนมสด, นมสด, รสในถัน, รส เกิดจากถัน, น้ำนมอันเกิดจากเต้านม. วิ. ถนโต สมฺภุตํ ถญญ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ลง ย ปัจ. ลบ อ ที่ น และ ลบ ณฺ. ได้รูปเป็น ถนฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
  42. ทกฺขิณกฺขิ : (นปุ.) นัยน์ตาข้างขวา, ตาข้าง ขวา, ตาขวา.
  43. ทฺวติปตฺต : (ปุ.) บาตรสองหรือบาตรสาม, สองบาตรหรือสามบาตร, สองสามบาตร, วิ. ทฺวิปตฺตา วา ติปตฺตา วา ทฺวติปตฺตา.
  44. ทฺวิช : (ปุ.) พราหมณ์ ชื่อคนวรรณะที่ ๒ ในวรรณะ ๔ วิ. กุลาจารพฺราหฺมณวเสน ทฺวิกฺขตฺตํชาตตฺตตา ทฺวิโช. ฟัน (กระดูกเป็นซี่ๆ อยู่ในปาก) วิ. ทฺวีสุ ฐาเนสุ ทฺวิกฺขตฺตุ วา ชายเตติ ทฺวิโช. สัตว์ผู้เกิดสองหน, นก. วิ. มาตุกุจฺฉิโต อณฺฑโต จาติ ทฺวิกฺขตฺตุชาตตฺตา ทฺวิโช. ส. ทฺวิช.
  45. ทฺวิสต : (นปุ.) ร้อยสอง, สองร้อย. วิ. เทฺว สตานิ ทฺวิสตํ ทฺวิสตานิ วา. หมวดสอง แห่งร้อย วิ. สตสฺส ทฺวิกํ ทฺวิสตํ. ฉ. ตัป. ลบ ก แล้ว กลับบท รูปฯ ๓๙๙.
  46. ทสพลจตุเวสารชฺชาทิสพฺพคุณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) (พระสัพพัญญุตาญาณ) อันประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณทั้งปวงมีญาณแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีกำลังสิบและญาณคือ ความเป็นแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีความครั่นคร้ามไปปราศแล้วสี่เป็นต้น. เป็น ต. ตัป. มี ฉ. ตุล., ฉ.ตัป., ฉ. ตุล., ณฺยปัจ. ภาวตัท., ส.ทิคุ., อว.กัม., อ.ทวัน., วิเสสนบุพ. กัม. ฉ..ตุล. และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน. ลบ ญาณ ทั้งสองศัพท์.
  47. ทสสตนยน : (ปุ.) เทพผู้มีนัยน์ตาร้อยสิบหน, เทวดาผู้มีนัยนืตาพันหนึ่ง, เทวดาผู้มี นัยน์ตาหนึ่งพัน, ท้าวสหัสนัยน์ ชื่อพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๑๐ ชื่อ, พระอินทร์, วิ. ทสสตานิ นยนานิ ยสฺส โส ทสสตนยโน.
  48. ทาฐา : (อิต.) เขี้ยว, งาช้าง. วิ. ทํสติ เอตายาติ ทาฐา. ทํสฺ ทํสเน, โฐ, ทํสสฺส ทา (แปลง ทํสฺ เป็น ทา). ส. ทาฒา.
  49. ทานกถาทิเภท : (วิ.) (อนุปุพพิกตา) อันต่าง ด้วยกถามีทานกถาเป็นต้น.
  50. ทายชฺช : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นประโยชน์ เกื้อกูลแก่บุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์อันมารดาและบิดาพึงให้ วิ. ทายาทสฺส หิตํ ธนํ ทายชฺชํ. ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์ อัน...พึงให้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับ ทรัพย์มรดก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับมรดก. วิ. ทายาทสฺส ภาโว ทายชฺชํ. ทายาท+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา ที่ ยาลบ อ ที่ ท ลบณฺ รวมเป็น ทายทฺย แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | [1101-1150] | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1459

(0.0815 sec)