Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หลังเต่า, เต่า, หลัง , then ตา, เต่า, หลง, หลงตา, หลํ, หลัง, หลังเต่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หลังเต่า, 1459 found, display 1151-1200
  1. ทาสี : (อิต.) บ่าวผู้หญิง, หญิงที่เป็นบ่าว, คนรับใช้หญิง, คนใช้หญิง, หญิงคนใช้, ทาสหญิง. วิ. ทุกุจฺฉิตํ อสตีติ ทาสี. ทุปุพฺโพ, อสฺ อทเน, อ. แปลง อุ เป็น อา อี อิต. ทิยฺยนฺเต เอตายาติ ทาสี. ฎีกาอภิฯ เป็น ทียนฺเต ทา ทาเน, โส, อิตฺถิยํ อี. ส. ทาสี.
  2. ทิคฺฆิกา : (อิต.) คู ชื่อที่ดินที่ขุดเป็นคลอง หรือล่องเพื่อล้อมเป็นสิ่งที่ต้องการล้อม วิ. ทีฆภาเวน ยุตฺตตฺตา ทิคฺฆิกา. เป็น ทีฆิกาบ้าง.
  3. ทิพฺจกฺขุ : (นปุ.) จักขุอันเป็นทิพย์, ตาทิพย์, ทิพจักษุ, ทิพยจักษุ. ส. ทิวฺยจกฺษุ.
  4. ทิพฺพจกฺขุ : (ปุ.) ชนผู้มีตาทิพย์ (จะดูอะไรก็ เห็นได้หมด แม้จะมีวัตถุกั้น).
  5. ทิพฺพจกฺขุก : ค. ผู้มีทิพยจักษุ, มีตาทิพย์
  6. ทิพฺพญาณ : (นปุ.) ตาทิพ, ตาทิพย์, ทิพย-เนตร. ส. ทิวฺยเนตฺร.
  7. ทิสามูลฬฺห : ค. ผู้หลงในทิศ, ผู้หลงทาง
  8. ทีป : (ปุ. นปุ.) เกาะชื่อของแผ่นดินที่มีน้ำล้อมรอบและเล็กกว่าแผ่นดินที่เป็นทวีป.วิ.ทฺวิชาคตานิอาปานิอสฺมึเหตุภูเตติทีโป.แปลงทฺวิเป็นทิหรือลบวฺเหลือเป็นทิทีฆะเป็นทีลบอาและนที่อาปานรัสสะอาที่ปาอภิฯและฎีกาอภิฯ.ส.ทวีป.
  9. ทุกฺกรภาว : ป. ดู ทุกฺกรตา
  10. ทุกฺขขย ทุกฺขกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นแห่งทุกข์, ความสิ้นไปแห่งทุกข์, ทุกขขยะ ทุกขักขยะ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. สพฺพทุกขานํ ขยการณตฺตา ทุกฺขขโย ทุกฺขกฺขโย วา.
  11. ทุคฺคติ : (อิต.) คติชั่ว วิ. ทุฎฺฐุ คติ ทุคฺคติ. ลบ ฎฺฐุ ซ้อน คฺ. คติอันบัณฑิตติเตียน วิ. กุจฺฉิตา คติ ทุคฺคติ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น ทุ, การไปชั่ว, ความเป็นไปชั่ว, ภูมิเป็นที่ไป ชั่ว. ทุ+คติ ซ้อน คฺ. ที่เป็นที่ไปแห่งทุกข์, ที่เป็นที่ถึงซึ่งทุกข์. วิ. ทุกขสส คติ ทุคคติ. ลบ กขฺ ซ้อน ค. ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์ วิ. ทุกฺขสฺส คติ ปติฏฺฐา ทุคฺคติ, ทุคคติ (ภพชั่ว). ส. ทุรฺคติ.
  12. ทุพฺพลตฺต : นป., ทุพฺพลตา อิต. ความเป็นผู้มีกำลังทราม, ความมีกำลังน้อย, ความอ่อนแอ
  13. ทุพฺพา : (อิต.) หญ้าแพรก วิ. อวมงฺคลํ ทุพฺพตีติ ทุพฺพา. ทุพฺพ หึสายํ, อ. ทุนฺนิมิตฺตาทโย วาเรนฺติ เอตายาติ วา ทุพฺพา. ทุนฺนิมิต-ตาทิปุพฺโพ, วรฺ อาวรเณ, อ. ลบบทหหน้าเหลือ ทุ และ ลบ รฺ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ อา อิต. ส. ทูพ, ทุรฺพพา.
  14. ทูร : (วิ.) ไกล. อภิฯ วิ. ทุกฺเขน อรติ ยํ ตํ ทูรํ. อรฺ คมเน, อ. กัจฯ ๖๗๐ วิ. คมิตํ อลํ อนาสนฺนตฺตาติ ทูโร. รูปฯ ๖๖๔ ทุ คติยํ, อูโร. ส. ทูร.
  15. เทวตาส : (ปุ.) หญ้าลูกเค้า, หญ้าหนวดแมว. วิ. เทวตา อสนฺติ ภกฺขนฺติ ย โส เทวตาโส.
  16. เทวตูโปสถ : ป. ดู เทวตาอุโปสถ
  17. เทวทารุ : (ปุ.) เทพทารู เทพทาโร ชื่อพรรณ ไม้ชนิดหนึ่ง มีกลิ่นหอมคล้ายการบูร เปลือกหอมใช้ปรุงอาหารรากใช้ทำยาไทย วิ. เทวานํ ตรุภูตตฺตา เทวทารุ.
  18. เทวิตฺถี : (อิต.) นางอัปษร วิ. เทวานํ อิตฺถิโย เทวภูตา วา อิตฺถิโย เทวิตฺถิโย.
  19. ธญฺญมาส : (ปุ.) ธัญญามาส ชื่อมาตรานับ ๗ อูกาเป็น ๑ ธัญญมาส. ธญฺโญ วีหิ เยว ปริมาณิตพุพตฺตา มาโส จาติ ธญฺญมาโส.
  20. ธมฺมกมฺม : นป. การกระทำตามธรรม, การปฏิบัติตามกฏ
  21. ธมฺมจกฺขุ : (วิ.) ผู้มีดวงตาเห็นธรรม.
  22. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  23. ธมฺมมิลฺล : (ปุ.) ผมที่ถัก (ประกอบด้วยแก้วมุก ดาเป็นต้น) วิ. กุสุมคพฺภา เกสา เกสจูฬา มุตฺตาทินา พหิสํยตา สนฺตตา ธมฺมิลฺโลนาม. เอกโต กตฺวา ธรียติ พนฺธียตีติ ธมฺมิลโล. ธรฺ ธารเณ, อิโล, รสฺส มตฺตํ, ทฺวิตฺตํ, ลสฺส ลลตฺตํ จ. ฎีกาอภิฯ ไม่แปลง ล เป็น ลฺล จึงเป็น ธมฺมิล. ส. ธมฺมิลฺล.
  24. ธมฺมสเวค ธมฺมสเวช : (ปุ.) ความสลดใน ธรรม, ความสลดใจในธรรม, ความสลดโดยธรรม, ความสังเวชโดยธรรม, ธรรมสังเวช เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อ ท่านประสบอนิฏฐารมณ์ ท่านไม่หวั่นไหวไปตามอนิฏฐารมณ์นั้นๆ.
  25. ธมฺมสามิ ธมฺมสฺสามิ : (ปุ.) พระธรรมสามี เป็นพระนามของพระพทธเจ้าทั้งปวง วิ. ธมฺมสฺส สามิ ธมฺมสามิ. ธมฺมสฺส วา ปวตฺตกตฺตา ธมฺมสามิ ธมฺมสฺสสามิ วา.
  26. ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
  27. ธีตุ : (อิต.) ลูกหญิง, ลูกสาว, ธิดา. วิ. มาตา ปิตูหิ ธรียเตติ ธีตา ธรฺ ธารเณ, ริตุ, อิ การสฺส ทีโฆ, ลบ ที่สุด ธาตุ และลบ รฺ ตัว ปัจ.
  28. ธูม : (ปุ.) ความโกรธ, ควัน, ควันไฟ, ความตรึก, กามคุณ ๕, ธรรมเทศนา. ธูปฺ กมฺปนสนฺตาเปสุ, โม. กัจฯ และรูปฯ ลง มนฺ ปัจ. ลบ นฺ. ส. ธูม.
  29. นค : (ปุ.) ต้นไม้, ภูเขา, วิ. น คจฺฉคติ นโค. นปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, กฺวิ. สญฺญาสทฺทตุตา น อตฺตํ (ไม่แปลง น เป็น อ). รูปฯ ๕๗๐. แปลว่า ปราสาท ก็มี นิคคหิตอาคม เป็น นงฺค บ้าง. ส. นค.
  30. นตฺตุ : (ปุ.) หลาน (ทั้งหลานชายและหลาน สาว) ลูกของลูกชายหรือลูกของลูกสาว (หลานปู่ หลานย่า หลานตา หลานยาย) วิ. นหฺยติ เปเมนาติ นตฺตา. นหฺ พนฺธเน, ริตุ. แปลง หฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือลง ตุ ปัจ. หรือตั้ง นี นเย, ริตุ, ตุ วา. แปลง อี เป็น อ ถ้าลงริตุ ปัจ. ลบ ริ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ. ถ้าแปลง นตฺตุ ว่า หลานชาย หลานสาว ก็ เป็น นตฺตุธีตุ.
  31. นยน : (นปุ.) ตา, ดวงตา, นัยน์, นัยน์ตา. วิ. เนติ อตตโน นิสสิตํ ปุคคลนติ นยนํ. นี ปาปุณเน, ยุ. อภิฯ. รูปฯ ๕๘๑ วิ. นยตีติ นยนํ นียติ เอเตนาติ วา นยนํ. นี นยเน. การถึง, การบรรลุ, การได้, การนำ, การนำไป, ความถึง, ฯลฯ. วิ. นยนํ คมนํ นยนํ ส. นยน.
  32. นยนเนตต : (นปุ.) ตาเป็นเครื่องนำไป, นัยน์ เนตร (ดวงตา).
  33. นลการ นฬการ : (ปุ.) ช่างสาน, ช่างจักสาน, ช่างสานเสื่อ. วิ. นโล เวณุเวตฺตาทีนํ วิกติ, ตํ กโรตีติ นลกาโร นฬกาโร วา.
  34. นาคพลา : (อิต.) แตงหนู, มะกอก, ครอบ. วิ. นาคสฺส พลมิว พลเมติสฺสา โรคหรณตฺตา นาคพลา.
  35. นาควลฺลิกา, นาควลฺลี : อิต. ดู นาคลตา
  36. นามธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นนาม, นามธรรม รู้ไม่ได้ทางตา หู จมูก ลิ้น หรือกาย แต่ รู้ได้ทางใจ).
  37. นาสา : (อิต.) จมูก, งวง (จมูกของช้างที่ ยื่นออกไป). วิ. นาสนฺติ อพฺยตฺตสทฺทํ กโรนฺติ เอตายาติ นาสา. นาสุ สทฺเท, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. นสา, นาสา.
  38. นิกฺกรุณา : อิต. ดู นิกฺกรุณตา
  39. นิคณฺฐ นิคฺคณฺฐ : (ปุ.) คนมีกิเลสพัวพัน วิ. จตูหิ คนฺเถหิ พนฺธนียตฺตา นิคณฺโฐ นิคฺคณฺโฐ วา. นิปุพฺโพ, คถิ พนฺธเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. แปลงนิคคหิต เป็น นฺ เป็น คนฺถ แปลง นถฺ เป็น ณฺฐ. คนปราศจาก เครื่องผูกเครื่องร้อยรัด. นิคต+คณฺฐ. นิครนถ์ ชื่อนักบวชนอกพุทธศาสนา นักบวชของศาสนาเช่น.
  40. นิจฺจตฺต : นป. ดู นิจฺจตา
  41. นิชฺฌาน : (นปุ.) การดู, การแลดู, การเห็น, การแพ่ง, การพินิจ, การพิจาร, ปัญญา อุ. นิชฺฌานพลา ปณฺฑิตา บัณฑิตท. มี ปัญญาเป็นกำลัง. นิปุพฺโพ, เฌ ฌาน- ญาเณสุ, ยุ. แปลง เอ เป็น อา.
  42. นิตฺถาเรติ : ก. ดู นิตฺตาเรติ
  43. นิพฺพิเสวน : (วิ.) มีอันเสพผิดไปปราศแล้ว วิ. นิคฺคตา วิเสวนา ยสฺส ตํ นิพฺพิเสวนํ (จิตฺตํ).
  44. นิมิตฺต : (นปุ.) เหตุ, มูลเค้า, เค้ามูล. วิ. อตฺตโน ผลํ นิมฺมินาตีติ นิมิตฺตํ นิปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, โต. นิมียติ เอตฺถ ผลํ ตทา- ยตฺตวุตฺติตายาติ วา นิมิตฺตํ. มิ ปกฺขิปเน. แปลง ต ปัจ. เป็น ตฺต ธาตุแรกแปลง อา เป็น อิ.
  45. นิมิลน นิมฺมีลน : (นปุ.) การกระพริบตา, การหลับตา. นิปุพฺโพ, มิลฺ มีลฺ วา นิมีลเน, ยุ.
  46. นิมิส : ป. การกระพริบตา, การหลับตา
  47. นิมิสติ : ก. การกระพริบตา, หลับตา, ปิดตา
  48. นิมิส นิมฺมิส นิมฺมิสน : (นปุ.) การกระพริบตา, การหลับตา. นิปุพฺโพ, นิสฺ นิมฺมิสเน, อ.
  49. นิมีลติ : ก. กระพริบตา, หลับตา, ปิดตา
  50. นิมีลิต : ค. ซึ่งกระพริบตาแล้ว, ซึ่งหลับตาแล้ว, อันปิดตาแล้ว
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | [1151-1200] | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1459

(0.0925 sec)