Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หลังเต่า, เต่า, หลัง , then ตา, เต่า, หลง, หลงตา, หลํ, หลัง, หลังเต่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หลังเต่า, 1459 found, display 151-200
  1. ถาลก : (นปุ.) ขัน, จาน, ชาม, ถัง. โอ (ภาชนะสานสำหรับใส่ของ รูปร่าง คล้ายขัน ขันโอ ก็เรียก). ถลฺ ฐาเน, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัต.
  2. ทนฺตจฺฉท ทนฺตจฺฉต : (ปุ.) ริมฝีปาก. ทนฺตปุพฺโพ, ฉทฺ สํวรเณ, อ, จสํโยโค, ศัพท์หลังแปลง ท เป็น ต. ส. ทนฺตจฺฉท.
  3. ทมถ : (ปุ.) การทรมาน,ฯลฯ,ความทรมาน,ฯลฯ.ทมฺธาตุถหรืออถปัจ.ศัพท์หลังยุปัจคำทรมานแผลงมาจากทมน.
  4. ทมน : (ปุ.) การทรมาน,ฯลฯ,ความทรมาน,ฯลฯ.ทมฺธาตุถหรืออถปัจ.ศัพท์หลังยุปัจคำทรมานแผลงมาจากทมน.
  5. ทยาลุ พยาลุก : (วิ.) ผู้มีความเอ็นดูเป็นปกติ วิ. ทยา อสฺส. ปกติ ทยาลุ. ผู้มีความอ็นดู มาก วิ. ทยา อสฺส พหุลา ทยาลุ. ผู้มี ความเอ็นดู วิ. ทยา กรุณา ยสฺสตฺถิ โส ทยาลุ. อาลุ ปัจ. พหุลตัท. ศัพท์หลัง ก สกัด. รูปฯ ๕๖๙ ว่า ลง กฺ อาคม. ส.ทยาลุ.
  6. ทฺวชมหาสาล ทฺวิชมหาสาฬ : (ปุ.) พราหมณ์ มหาสาล วิ . มหนฺโต ธนสาโร ยสฺส โส มหาสาโล. แปลง ร เป้น ล. ทฺวิโช จ โส มหาสาโล จาติ ทฺวิชมหาสาโล. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  7. ทฺวารปาล ทฺวารปาลก ทฺวารฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้รักษาประตู, คนเฝ้าประตู, ยามประตู, นายประตู. ศัพท์หลัง ทฺวาร+ฐ ซ้อน ฏฺ.
  8. ทารุ : (นปุ.) ไม้, เปลือกไม้, ท่อนไม้, ชิ้นไม้, ไม้แห้ง, ฟืน. วิ. ทรียตีติ ทารุ. ทรียนฺเต เอเตหีติ วา ทารุ. วิ. หลังนี้ จากโมคฯ. ทรฺ วิทารเณ, ณุ. ทารุ. ที่มาคู่กับไม้ไม่มีแก่น แปล ทารุ ว่าไม้จริง (ไม้มีแก่น). ส. ทารุ
  9. ทารุหฬิทฺทา : (อิต.) ไม้เหลือง, ขมิ้น. วิ. หฬิทฺทวณฺณทารุตาย ทารุหฬิทฺทา. กลับ บทหน้าไว้หลัง. เป็น ทารุหลิทฺทาบ้าง.
  10. ทิปิ ทีปิ : (ปุ.) เสือเหลือง, เสือดาว, ทิปฺ ทิตฺติยํ, อิ. ศัพท์หลังฑีฆะต้นธาตุ ถ้าตั้ง ทีปฺ ธาตุ ก็ไม่ต้องทีฆะ.
  11. ทีฆปิฏฺฐิก : ป. สัตว์มีหลังยาว, งู
  12. ทุติยาสาฬฺห : (ปุ. อิต.) เดือนแปดที่สอง, เดือนแปดหลัง.
  13. ทุพฺภ : ค. ผู้ประทุษร้าย, ผู้ทรยศ, ผู้คดโกง, ผู้หักหลัง
  14. ทุพฺภติ : ก. ประทุษร้าย, ทรยศ, คดโกง, หักหลัง
  15. ทุพฺภน : นป. การประทุษร้าย, การทรยศ, การคดโกง, การหักหลัง
  16. ทุพฺภิกฺขุ : (นปุ.) ความไม่มีแห่งอาหาร, ความขัดสนอาหาร, ข้าวแพง, อาหารแพง, ข้าวยากหมากแพง. วิ. ภิกฺขสฺส อภาโว ทุพฺภิกฺขํ กลับบทหน้าไว้หลัง. เวสฯ ๑๙๘. ส. ทุรฺภิกฺษ.
  17. ทุมน ทุมฺมน : (วิ.) มีใจอันโทษประทุษร้าย แล้ว วิ. ทุฏฺโฐ มโน ยสฺส โส ทุมโน ทุมฺมโน วา. มีใจชั่ว, มีใจชั่วร้าย วิ. ทุ ทฏฺโฐ มโน อสฺสาติ ทุมโน. เสียใจ ยินร้าย วิ. ทุฏฺฐุ ทุกฺขิตํ วา มโน ยสฺส โส ทุมโน. ศัพท์ หลังซ้อน มฺ.
  18. ทุรนฺวย : (วิ.) อัน...ไปตามได้ยาก, อัน...ไป ตามได้โดยยาก. ทุ อนุ. บทหน้า อิ ธาตุ อ หรือ ข ปัจ. พฤทธิ อุ ที่ อนุ เป็น ว แปลง อิ เป็น ย ลง รฺ อาคมหลัง ทุ คำแปลหลัง ทุกฺข อนุ เป็นบทหน้า ลบ กฺข.
  19. ทุรปฺปพฺพชฺช : (นปุ.) การบวชเป็นของยาก, บวชเป็นของยาก. ทุเป บทหน้า วชฺธาตุ ณฺย ปัจ. ลง รฺ และ อ อาคมหลัง ทุ ซ้อน ปุ.
  20. ทุสน โทสน : (นปุ.) อันประทุษร้าย, การประ- ทุษร้าย, ความประทุษร้าย. ทุสฺ โทสเน, ยุ. ศัพท์ตันทีฆะ ศัพท์หลัง พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
  21. ทุสฺสีลฺย ทุสฺสีลย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคล ผู้มีศีลอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ศัพท์หลังไม่ลบ อ ที่สุดศัพท์ หรือลง ย ปัจ.?
  22. ทูภี : ค., อิต. ผู้ประทุษร้าย, ผู้คดโกง, ผู้ทรยศ, ผู้หักหลัง; การทรยศ, การหักหลัง
  23. ธนกิต ธนกฺกีต : (ปุ.) ทาสที่ถ่ายมาด้วยทรัพย์, ทาสที่ซื้อมาด้วยทรัพย์. วิ ธเนน กีโต ธนกีโต. ธนํ ทตฺวา ทาสภาวํ กโรตีติ วา ธนกีโต. ศัพท์หลังซ้อน กฺ.
  24. ธนสาร : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นแก่น, ทรัพย์ อันเป็นแก่นสาร. ธน+สาร, ทรัพย์อันเป็นแก่นแห่งทรัพย์. ธน+ธนสาร ลบ ธนศัพท์หลัง.
  25. ธนุปญฺจสต : (นปุ.) ร้อยห้าแห่งธนู, ห้าร้อย ชั่วธนู, ห้าร้อยชั่วธนู, ห้าร้อยชั่วธนูเป็น ๑ โกสะ. วิ. อาโรปิตานํ อาจริยธนูนํ ปญฺจสตํ ธนุปญฺจสตํ. วิ. นี้เฉพาะคำแปลหลัง. ธนุปญฺจสตํ โกโส นาม.
  26. ธมฺมสวน ธมฺมสฺสวน : (วิ.) (กาล) เป็นที่ฟัง ซึ่งธรรม. วิ. ธมฺมํ สุณาติ เอตฺถาติ ธมฺมสวโน ธมฺมสฺสวโน วา. ศัพท์หลังซ้อน สฺ และใช้ศัพท์นี้โดยมาก.
  27. ธย ธาย : (ปุ.) เจ้าหนี้. ธา ธารเณ, อ. แปลง อา เป็น อิ แปลง อิ เป็น ย ศัพทฺหลังแปลง อา เป็น อาย.
  28. ธราธร ธราธาร : (ปุ.) เมฆ, พระวิษณุ, พระ ศิวะ, ภูเขา, เต่า?
  29. ธานี : (นปุ.)เมือง,ธานี,ธานิน.ธาธารเณ,โน,อิตฺถิยํอี.ศัพท์หลังนิยปัจ.ธานีเมื่อเข้าประโยคจะเป็นศัพท์สมาสเสมออุ.ราชธานี.ส.ธานี.
  30. ธุต ธูต : (วิ.) กำจัด, ขจัด, ขัดเกลา, ไหว, หวั่นไหว, สั่น, สบัด, สลัด, กระดิก. ธุ วิธุนนกมฺปเนสุ, โต. ศัพท์หลังทีฆะ หรือตั้ง ธู วิธูนเน.
  31. นคฺค : (วิ.) เปล่า, เปลือย, เปลือยกาย. วิ. น คจุฉตีติ นคฺโค. นปุพฺโพ คมฺ คติยํ, กฺวิ. ลบ มุ แปลง ค เป็น คฺค หรือตั้ง ลคฺค สงฺเค, อ. แปลง ล เป็น น หรือ ตั้ง นชิ ลชิ ชิเลย, โณ. แปลง ช เป็น ค แล้วแปลงเป็น คฺค ธาตุหลังแปลง ล เป็น น. ส. นคฺน.
  32. นลนฬ : (ปุ.) ไม้ไผ่, ไม้รวก, ไม้อ้อ, ไม้เสา, นิ นเย, อโล. ลบ อิ ศัพท์หลังแปลง ล เป็น ส. นฑ, นล.
  33. นลาฏ นลาต : (ปุ.) หน้าผาก. นลฺ คนฺเธ, อาโฏ. ศัพท์หลังแปลง ฏ เป็น ต?.
  34. นิกฺกาม นิกาม : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว วิ. นิกฺขนฺโต กาโม ยสฺมา โส นิกฺกาโม. ไม่มี ความใคร่ วิ. นตฺถิ กาโม เอตสฺสาติ นิกฺกาโม. ออกแล้วจากความใคร่ วิ. กาเหมิ นิกฺขนฺโต นิกฺกาโม. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง. ความหมาย อย่างสูง หมายเอาความตั้งใจทำความเพียรเพื่อละกิเลส โดยไม่ห่วงกายและ ชีวิตแบบคนบริโภคกามคุณห่วง.
  35. นิครณ นิคิรณ : (วิ.) คาย, ไหลออก, อาเจียน, รด, ราด, โปรย. นิปุพฺโพ, ครฺ วมนเสจเนสุ, ยุ. ศัพท์หลังแปลงเป็น อ เป็น อิ.
  36. นินฺนหุต : (นปุ.) นินนหุต ชื่อมาตรานับ เท่า กับเลข ๑ มีสูญตามหลัง ๓๕ สูญ. นหุตลกฺขสตํ นินฺนหุตํ. ปญฺจตึสติพินฺทุส- หิตา เอกา เลขา.
  37. นินฺนหุตฺต : นป. มาตรานับจำนวนสูงเท่ากับ ๑๖,๐๐๐,๐๐๐๕ หรือ ๑ มีศูนย์ตามหลัง ๓๕ ตัว
  38. นิย นิยก : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. นิ นเย, โณฺย. ฎีกาอภิฯ ผู้เกิดในตน, ผู้เกิดแต่ตน, ผู้อาศัยตนเกิด. วิ. อตฺตนิ ชาโต นิโย. อตฺตนา ชาโต นิโย. อตฺตานํ นิสฺสาย ชายตีติ นิโย. แปลง ชนฺ เป็น ชา รัสสะ แปลง ช เป็น ย ศัพท์หลัง ก สกัด นิ มาจาก นิสฺสาย.
  39. นิยุชฺชน นิยุญชน : (นปุ.) การประกอบเข้า, ความประกอบเข้า. นิปุพฺโพ, ยชฺ โยเค, ยุ. ซ้อน ชฺ ศัพท์หลังลงนิคคหิตอาคม.
  40. นิรตฺถ นิรตฺถก : (วิ.) มีประโยชน์ออกแล้ว, หาประโยชน์มิได้, ไม่มีประโยชน์, ปราศ จากประโยชน์, ไร้ประโยชน์, เปล่า. วิ. นตถิ อตฺโถ อสฺสาติ นิรตฺโถ นิรตฺถโก วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. รู อาคม ศัพท์หลัง ก สกัด.
  41. นิรพฺพุท : (นปุ.) นิรัพพุทะ ชื่อมาตรานับ คือ เลข ๑ มีสูญตามหลัง ๖๓ สูญ. นิปุพฺโพ, อพฺพฺ หึสาคตีสุ, โท. รฺ อาคม และ อ อาคมท้ายธาตุ แปลง อ เป็น อุ.
  42. นิวตฺเตติ : ก. ให้กลับ, ให้หยุดอยู่เบื้องหลัง
  43. ปจฺฉโต : อ. ข้างหลัง
  44. ปจฺฉา : อ. ภายหลัง
  45. ปจฺฉาชาติ : กิต. เกิดภายหลัง
  46. ปจฺฉาตาป : ป. การเร่าร้อนในภายหลัง
  47. ปจฺฉานิปาตี : ป. ผู้ออกไปภายหลัง
  48. ปจฺฉานุตปฺปติ : ก. เดือดร้อนในภายหลัง
  49. ปจฺฉานุตาป : ป. การตามเดือดร้อนในภายหลัง, ความสำนึกตัว
  50. ปจฺฉาพาห : ก. วิ. ให้มีมือข้างหลัง, มัดมือไพล่หลัง
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1459

(0.0942 sec)