Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หลังเต่า, เต่า, หลัง , then ตา, เต่า, หลง, หลงตา, หลํ, หลัง, หลังเต่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หลังเต่า, 1459 found, display 201-250
  1. ปจฺฉาภตฺต : ก. วิ. ภายหลังอาหาร, เวลาบ่าย
  2. ปจฺฉาภาค : ป. ส่วนหลัง
  3. ปจฺฉาสมณ : ป. สมณะผู้ตามหลัง, พระผู้น้อยเดินตามหลังพระผู้ใหญ่
  4. ปจฺฉิม : ค. เกิดภายหลัง, มีในภายหลัง
  5. ปฏิรูป : ค. ๑. เหมาะ, ควร, สมควร, เหมาะสม; ๒. (ใช้เป็นบทหลังในรูปสมาส เช่น มิตฺตปฏิรูป เป็นต้น) มีรูปเหมือน, คล้ายคลึง, เทียม, ปลอมแปลง
  6. ปฏิสกฺกติ : ก. วิ่งกลับ, ถอยหลัง
  7. ปฏิสรติ : ก. แล่นกลับ, วิ่งกลับ, ถอยหลัง, ล้าหลัง; หวนระลึก, กลับคิดถึง, กล่าว
  8. ปตฺตชีวก : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งการเลี้ยงชีพ วิ. ชีวิกํ ปตฺโต ปตฺตชีวโก. กลับบทหน้าไว้หลัง รูปฯ ๓๓๖.
  9. ปมุท ปโมท : (ปุ.) ความบันเทิงยิ่ง, ความยินดียิ่ง, ความร่าเริงยิ่ง, ความรื่นเริงยิ่ง, ความบันเทิง, ฯลฯ. ปปุพฺโพ, มุทฺ หาเส, ศัพท์หลัง ณ ปัจ.
  10. ปยุชฺชน ปยุญฺชน : (นปุ.) การประกอบ, ความประกอบ, ความประกอบยิ่ง. ปปุพฺโพ, ยุชฺ โยเค, ยุ. แปลง ช เป็น ชฺช ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม.
  11. ปรปุริส : (ปุ.) บุรุษอื่น, บุรุษอื่นๆ, บุรุษ เบื้องหลัง.
  12. ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
  13. ปรมฺมรณา : อ. เบื้องหน้าแต่ตาย, หลังจากตาย
  14. ปรมฺมุขา : (อัพ. นิบาต) ลับ, ลับหน้า, ในที่อื่น แห่งหน้า, ลับหลัง, ในที่ลับหลัง.
  15. ปรหิยฺย : (ปุ.) วันอื่นจากวันวาน, วานซืน ( ก่อนวานนี้วันหนึ่ง ). วิ. หิยฺยโต ปโร ปรหิยฺโย. กลับบทหน้าไว้หลัง. อมาทิปรตัป รูปฯ ๓๓๖.
  16. ปริจาค ปริจฺจาค : (ปุ.) การสละ, การให้, การให้ปัน, การสละให้, การเสียสละ. ปริปุพฺโพ, หา จาเค, โณ, เท๎วภาวะ หา รัสสะเป็น ห แปลง ห,ห เป็น จ,ค หรือ ตั้ง จชฺ จาเค ศัพท์หลังซ้อน จฺ โมคฯ ลง ฆณฺ ปัจ. ส. ปริตฺยาค.
  17. ปโร : อ. ข้างบน, ข้างหลัง, ไปเบื้องหน้า ; มากกว่า
  18. ปาสาณปิฏฺฐิ : อิต. หลังแผ่นหิน, หินดาน
  19. ปิฏฺฐ : นป. หลัง, ด้านหลัง; พื้น; แป้ง, ผง
  20. ปิฏฺฐิ : อิต. หลัง, หลังด้าน, ข้างบน, ยอด
  21. ปิฏฺฐิก : ค. มีหลัง
  22. ปิฏฺฐิกณฺฏก : นป. กระดูกสันหลัง
  23. ปิฏฺฐิคต : ค. ซึ่งไปบนหลัง, ซึ่งขี่หลังไป
  24. ปิฏฺฐิปณฺณสาลา : อิต. ด้านหลังของบรรณศาลา
  25. ปิฏฺฐิปริกมฺม : นป. การนวดหลัง (โดยวิธีถูไปถูมา)
  26. ปิฏฺฐิปสฺส : นป. ส่วนด้านหลัง, ข้างหลัง
  27. ปิฏฺฐิปาท : ป. หลังเท้า, น่อง
  28. ปิฏฺฐิปาสาณ : ป. หลังหิน, ลานหิน, หินดาด
  29. ปิฏฺฐิพาห : นป. หลังแขน
  30. ปิฏฺฐิมนฺตุ : ค. ผู้มีหลัง
  31. ปิฏฺฐิมส : นป. เนื้อสันหลัง
  32. ปิฏฺฐิมสิก : ค. ผู้ติเตียนลับหลัง, ผู้นินทา
  33. ปิฏฺฐิโรค : ป. โรคปวดสันหลัง
  34. ปิฏฺฐิวส : ป. กระดูกสันหลัง; ชื่อเรือน
  35. ปุถุปาณิก, - ณิย : นป. การถูหลังด้วยมือ
  36. ปุพฺพกาย : (ปุ.) เบื้องต้นแห่งกาย, เบื้องต้นของกาย. วิ. กายสฺส ปุพพํ ปุริโม ภาโค ปุพฺพกาโย. เป็นตัปปุริสพิเศษ เมื่อเป็นบทปลง กลับบทหน้าไว้หลัง.
  37. ปุพฺพกิจฺจ : (นปุ.) กิจที่จะต้อง ทำก่อน,กิจเบื้องต้น,บุพกิจ คือกิจที่ทำหลังบุพกรณ์.
  38. ปุราเภท : (นปุ.) ภายหลังแห่งความตาย. วิ. เภทาย ปุรา ปุราเภทํ.
  39. ปุฬูว ปุฬูวก : (ปุ.) หนอน, แมลง (แมลงต่างๆ). ปุฬฺ สํฆาเต (หึสายํ), อโว, อสฺส อู (แปลง อ เป็น อู). ศัพท์หลัง ก สกัด.
  40. ปูติ ปูติก : (วิ.) บูด, เน่า, เปื่อย, เปื่อยเน่า, เหม็น, ยุ. ปูยิ ทุคฺคนฺเธ, ติ. ลบที่สุดธาตุศัพท์หลัง ก สกัด.
  41. เปตฺติก เปตฺติย : (วิ.) เกิดพร้อมแล้วจากบิดา, เกิดจากบิดา เกิดแต่บิดา วิ. ปิติโต สมฺภูตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. มาข้างบิดา วิ. ปิติโต อาคตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา วิ. ปิตุโน สนฺตกํ เปตฺติกํ เปตุติยํ วา. อันเป็นของแห่งบิดา เป็นของแห่งบิดา วิ. ปิตุโน วตฺถุกํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย ส่วนโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๑ ลง ริยณฺ ปัจ. ลบ รฺ และ ณฺ.
  42. ผิต ผีต : (วิ.) แผ่ไป, เผล็ต, บาน, แพร่หลาย, มั่งคั่ง, ผึ่งผาย, กว้าง, กว้างขวาง. ผิ คมเน, โต. ศัพท์หลังทีฆะ.
  43. พทฺธเวร : (นปุ.) การผูกเวร. เวร+พทฺธ กลับบทหน้าไว้หลัง.
  44. พนฺธุก พนฺธูก : (ปุ.) ชบา. พนฺธฺ พนฺธเน, อุ, สตฺเถ โก. ศัพท์หลังทีฆะ.
  45. พฺยปถ พฺยปฺปถ : (ปุ.) ทางแห่งวาจา, คลองแห่งวาจา, คำเป็นทาง, ถ้อยคำเป็นทาง. วาจา+ปถ. วาจาย โพฺย ปเถ เพราะ ปถ ศัพท์อยู่หนปลาย แปลงวาจาศัพท์เป็น พฺย. ศัพท์หลังซ้อน ปฺ.
  46. พฺยาวฏ พฺยาวต : (วิ.) ขวน ขวาย, พยายาม, กระ ตือรือร้น. วิ อา ปุพฺโพ, วฏฺ เวฐเน, อ. ศัพท์หลัง แปลง ฏ เป็น ต.
  47. พิมฺโพหน : (นปุ.) หมอน, เขนย. วิ. วิเสเสนสีสํ วห-ตีติ พมฺโพหนํ. วเสสปุพฺ-โพ, วหฺปาปุณเน, ยุ, ลบ สฺส แปลง ว ทั้งสองเป็น พ แปลง อ ที่ พ ตัวหลัง เป็น โอ นิคคหิตอาคม.
  48. โพธิสมฺภาร : (ปุ.) บารมีธรรมเป็นเครื่องอุดหนุนแก่พระโพธิญาณ, โพธิสมภาร คือ บุญบารมีที่ได้สะสมไว้แต่หนหลังบุญบารมีของพระมหากษัตริย์.
  49. ภตฺตการ ภตฺตการก : (ปุ.) คนหุงข้าว, พ่อครัว. วิ. ภตฺตํ กโรติ กริสฺสติ อกาสีติ ภตฺตกาโร ภตฺตการโก วา. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  50. ภมุกา : (อิต.) คิ้ว. วิ. ภมติ จรตีติ ภมุ ภมุโก ภมุกา วา. ภมุ อนวฏฺฐเน, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือ อุก ปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1459

(0.0858 sec)