Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หลังเต่า, เต่า, หลัง , then ตา, เต่า, หลง, หลงตา, หลํ, หลัง, หลังเต่า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หลังเต่า, 1459 found, display 351-400
  1. อภิชฺฌาลุ อภิชฺฌาลุก : (วิ.) มีอภิชฌามาก, มีอภิ ชฌาเป็นปกติ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  2. อภินนฺทนาการ : (ปุ.) การทำด้วยความยินดียิ่ง, ความยินดียิ่ง.คำแปลหลังนี้การ เป็นศัพท์สกัด.
  3. อภิสงฺคอภิสฺสงฺค : (ปุ.) การแช่ง, การด่า, คำแช่ง, คำด่า.อภิปุพฺโพ, สญฺชสงฺเค, อ.แปลงชเป็นค ญฺ เป็น งฺคำหลังซ้อนสฺ.
  4. อภิสงฺค อภิสฺสงฺค : (ปุ.) การแช่ง, การด่า, คำ แช่ง, คำด่า. อภิปุพฺโพ, สญฺช สงฺเค, อ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็น งฺ คำหลังซ้อน สฺ.
  5. อรญฺชอรญฺชก : (ปุ.) อ่าง, กระถาง, ไห, ขวด, กระออม.อาปุพฺโพ, รชิวิชฺฌเน, อ, รสฺโสศัพท์หลังกสกัด.
  6. อรญฺช อรญฺชก : (ปุ.) อ่าง, กระถาง, ไห, ขวด, กระออม. อาปุพฺโพ, รชิ วิชฺฌเน, อ, รสฺโส ศัพท์หลัง ก สกัด.
  7. อลกฺกอฬกฺก : (ปุ.) สุนัขบ้า.อลฺ นิวารเณ, ณฺวุ.แปลงก (ซึ่งแปลงมาจาก ณฺวุ)เป็นกฺก.ศัพท์หลังแปลงลเป็นฬ.เป็นอลํกโดยลงนิคคหิตอาคมและไม่แปลงกเป็นกฺกบ้างส.อลก.
  8. อลิอฬิ : (ปุ.) ผึ้ง, ตัวผึ้ง, แมลงภู่, แมลงป่อง, กา, นกเค้า, เหล้าหวาน.วิ.อรตีติอลิอฬิวา.อรฺคมเน, อิ, รสฺสลตฺตํ, ศัพท์หลังแปลงลเป็นฬ.ส. อลิ.
  9. อวร : ค. ทีหลัง, ภายหลัง, หนุ่มกว่า
  10. อวหียติ : ก. ถูกทอดทิ้ง, ล้าหลังอยู่
  11. อวิทูอวิทสุ : (ปุ.) คนไม่รู้แจ้ง, คนเขลา, คนโง่, คนพาล.น+วิทฺ+รูปัจ.ศัพท์หลังสุปัจ.
  12. อสงฺขิย, - เขย : นป. อสงไขย, กาลที่นับไม่ได้, เลขจำนวนสูงจำนวนหนึ่งมีศูนย์ตามหลัง ๑๔๐ ตัว
  13. อสญฺญีวาท : ค. ผู้ยึดถือทิฐิว่าหลังจากตายแล้ว อัตตาไม่มีสัญญา
  14. อสมฺมุขา : (อัพ. นิบาต) ในที่ลับหลัง.
  15. อสฺมสารอสล : (ปุ.) เหล็ก.ศัพท์หลังอสุพฺยาปเน, อโล.
  16. อสฺสปุฏ : นป. ถุงหลัง
  17. อสฺสภณฺฑก : นป. ผ้าปูหลังม้า, อานม้า, เครื่องแต่งม้า
  18. อสฺสยุทฺธ : ป. การรบบนหลังม้า
  19. อสฺสวาณิช : ป. พ่อค้าม้า, พ่อค้าที่ใช้ของบรรทุกหลังม้าไปขาย
  20. อเหตุอเหตุก : (วิ.) มีเหตุหามิได้, ไม่มีเหตุ.วิ. นตฺถิตสฺสเหตูติอเหตุอเหตุโกวา.ศัพท์หลังสกัด.
  21. อาโกฏนอาโกฏฺฏน : (วิ.) ตี, ทุบ, อัด, ตอก, เคาะ.อาปุพฺโพ, กุฏฺอาโกฏนาทีสุ, ยุ.ศัพท์หลังซ้อนฏฺ.
  22. อาชานียอาชาเนยฺย : (ปุ.) อาชานียบุคคลอาชาเนยยบุคคล (ผู้ได้รับการอบรมมาดี), ม้าอาชาไนย (มีไหวพริบดี).วิ.อา ภุโสการณาการณํชานาตีติอาชานีโยอาชาเนยฺโยวา.อาบทหน้าญาธาตุนาปัจ. ประจำธาตุและ ณฺยปัจแปลงญา เป็น ชฺแปลงอาที่นาเป็นอีศัพท์หลัง แปลงอีเป็นเอ ซ้อนยฺอกิฯลงอานียหรือ ณฺย ปัจ. ส. อาชาเนย.
  23. อายุตฺตก : (ปุ.) บุคคลผู้เรียกเก็บซึ่งส่วย, นายส่วย( ส่วยคือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงอีกอย่างหนึ่งคือ เงินที่เก็บจากชายซึ่งมิได้รับราชการเป็นทหารเงินรัชชูป-การก็เรียกปัจจุบันเลิกเก็บแล้ว ), เสมียน, เจ้าพนักงาน, เจ้าหน้าที่.อาปุพฺโพ, อุจฺสมวาเย, โต.แปลงจฺเป็นตฺ กสกัดคำแปลหลังอายุตฺตลงกสกัด.ส. อายุกฺตก.
  24. อาริสอาริสฺส : (วิ.) นี้ของฤาษี. ณ ปัจ. ราคาทิตัทแปลงอิเป็นอาศัพท์หลังซ้อนสฺ.
  25. อาลสฺย อาลสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งคน เกียจคร้าน, ความเป็นคนเกียจคร้าน. วิ. อลสสฺส ภาโว อาลสฺยํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท ลบ อ ที่ ส ทีฆะ อ อักษรต้นเป็น อา ลบ ณฺ ศัพท์หลังแปลง สฺย เป็น สฺส.
  26. อาวีรโห : (อัพ. นิบาต) ทั้งต่อหน้าและลับหลัง.
  27. อาหุเณยฺย อาหุเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรรับจตุปัจจัย อันบุคคลนำมาแต่ไกลบูชา วิทูร โต อาเนตฺวา หุโตติ อาหุโณ (อันบุคคลนำมา แต่ที่ไกลบูชา). อาหุโณ จตุปจฺจโย อาหุณจตุปจฺจโย. อาหุณจตุปจฺจยสฺส คหณํ อาหุณจตุปจฺจยคหณํ. อาหุณจตุ- ปจฺจยคหณํ อรหตีติ อาหุเณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ฐานตัท. ควรแก่ทานอันบุคคล นำมาบูชา. ควรแก่ทานอันบุคคลพึงนำมาบูชา. วิ. อาเนตฺวา หุยเตติ อาหุณํ. อาเนตฺวา หุนิตพฺพนฺติ วา อาหุนํ. อาเนตฺวาบทหน้า หุ ธาตุในความบูชา ยุปัจ. อาหุณสฺสอรหตีติ อาหุเณยฺ โย. ควรซึ่ง (แก่) วัตถุอันบุคคลให้ (ถวาย) โดย ความเอื้อเฟื้อ วิ. อาทเรน หุยเต นิยเตติ อาหุณํ. อาทรบทหน้า หุ ธาตุในความให้ ยุ ปัจ. อาหุณํ อาหุณสฺส วา อรหตีติ อาหุ เณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ศัพท์หลังแปลง ยุ เป็น อน.
  28. อิก อิกฺก : (ปุ.) หมี. อิจฺ สุติยํ ถุติยํ วา, อ, จสฺส โก. ศัพท์หลังซ้อน กฺ.
  29. อิตฺถมฺภูต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งประการนี้, ถึงแล้ว ซึ่งอาการนี้, ถึงแล้วซึ่งความเป็นอย่างนี้. วิ. อิตฺถํ ภูโต ปตฺโตติ อิตฺถมฺภูโต. คำแปลหลัง วิ. อิตฺถตฺตํ ภูโตติ อิตฺถมฺภูโต. ลบ ตฺต.
  30. อุตฺตมณ อุตฺตมิณ : (ปุ.) เจ้าหนี้ (ผู้ให้ยืม). วิ. อิเณ อุตฺตโม อุตฺตมโณ อุตฺตมิโณ วา. เปลี่ยนศัพท์ คือเอา อุตฺตม ไว้หน้า ศัพท์ หน้าลบ อิ ที่ อิณ ศัพท์หลังไม่ลบ.
  31. อุตฺตราสค อุตฺตราสงฺค : (ปุ.) ผ้าอันคล้องอยู่ เหนืออวัยวะด้านซ้าย, ผ้าอันคล้องอยู่ที่ ส่วนแห่งกายด้านซ้าย, ผ้าคล้องไว้บนบ่า เบื้องซ้าย, ผ้าห่ม (คือจีวรในภาษาไทย). วิ. อุตฺตรสฺมึ เทหภาเค อาสชฺชเตติ อุตฺตราสํโค อุตฺตราสงฺโค วา. อุตฺตร อา บทหน้า สญฺชฺ ธาตุในความคล้อง อ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็นนิคคหิต ศัพท์ หลังแปลงนิคคหิตเป็น งฺ.
  32. อุทฺทาล อุทฺทาลก : (ปุ.) ราชพฤกษ์, คูน. วิ. วาต มุทฺทาลยตีติ อุทฺทาโล. อุปุพฺโพ, ทลฺ วิทารเณ, โณ. คำหลัง ก สกัด.
  33. อุทฺธ : ค. เบื้องบน, เลย, เกิน, นอกเหนือไป, ข้างล่าง, (เวลา) หลัง, ต่อไป, ในอนาคต
  34. อุท อุทก : (นปุ.) น้ำ. วิ. อุทติ อุทฺทติ วา ทฺรวํ กโรตีติ อุทํ อุทกํ วา. อุทิ อุทฺทฺ วา ปสวนเกฺลทเนสุ, อ, โก. ถ้าตั้ง อุทฺทฺ ลบ ทฺ สังโยค. ศัพท์หลังลง ณฺวุ ปัจ. ก็ได้. ส. อุท อุทก.
  35. อุปกม อุปกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปก่อน, ความหมั่น, ฯลฯ. อุปปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ศัพท์หลังซ้อน กฺ. ส. อุปกฺรม.
  36. อุปตฺติ อุปฺปตฺติ : (อิต.) การเกิด, การเกิดขึ้น, การบังเกิด, การบังเกิดขึ้น, ความเกิด, ฯลฯ, เหตุ, เหตุเครื่องบังเกิด, กำเนิด, การลง อุ. วิภตฺตุปฺปตฺติ การลงวิภัติ. อุปุพฺ โพ, ปทฺ คติยํ, ติ. วิ. อุปฺปชฺชนํ อุปตฺติ อุปฺปตฺติ วา. คำหลังซ้อน ป. ไทยใช้อุบัติ เป็นกิริยา ในความว่า เกิด เกิดขึ้น ใช้เป็น นามว่า การเกิดขึ้น. กำเนิด เหตุ รากเหง้า. ส. อุตฺปตฺติ.
  37. อุปถมฺถ อุปตฺถมฺภ : (วิ.) ค้ำ, ค้ำจุน, อุดหนุน, ช่วยเหลือ, ส่งเสริม, อนุเคราะห์.อุปปุพฺโพ, ถมฺภฺ ปติพนฺธเน, อ. ธรฺ ธารเณ วา, รมฺโภ. แปลง ธ เป็น ถ ลบ รฺ และลบตัวเอง (ร ของ รมฺภ) ศัพท์หลังซ้อน ตฺ.
  38. อุปฺปล : นป. บัว, ดอกบัว; มาตรานับจำนวนสูงเท่ากับ ๑ มีศูนย์ตามหลัง ๙๘ ศูนย์ (มีค่า = ๑๐,๐๐๐,๐๐๐๑๔)
  39. อุปฺปาต อุปฺปาท : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดขึ้น, อาเพศแห่งดินฟ้าอากาศ แสดงผลดีผลชั่ว, ลางชี้ผลดีและผลชั่ว, อุบาต อุบาท (เหตุ การณ์ที่เกิดขึ้นผิดปกติ). วิ. สุภาสุภผลํ ปกาเสนฺโต อุปฺปตฺตีติ อุปฺปาโต, ปตฺ คติยํ, โณ, ปฺสํโยโค. การเกิดขึ้น, การบังเกิดขึ้น, เหตุ. วิ. อุปฺปตฺติ อุปฺปาโต. ศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ท. ส. อุตฺปาต อุตฺปาท.
  40. อุปวน : (นปุ.) สวน, สวนใหญ่, สวนดอกไม้. วิ. อุปคตํ อุปโรปิตํ วา วนํ อุปวนํ. ป่า ใกล้, ป่าใกล้เคียง. วิ. สมีปํ วนํ อุปวนํ. วิ. ใช้ สมีป แทน อุป. ที่ใกล้แห่งป่า วิ. วนสฺส สมีปํ อุปวนํ. กลับบทหน้าไว้หลัง.
  41. อุปวาส : (ปุ.) การเข้าไปอยู่ วิ. อุปวสนํ อุปวาโส. การอยู่เว้น (อด) อาหาร (ตั้งแต่ หลังเที่ยงไป) คือการจำศีล (รักษาศีล). วิ. อนฺเนน วชฺชิดโต วาโส อุปวาโส. ส. อุปวาส.
  42. อุพฺพิคฺค อุพฺเพค : (วิ.) หวาด, หวาดหวั่น, หวาดเสียว, ตกใจ, สะดุ้ง. อุปุพฺโพ, วิชี ภยจลเนสุ, อ. แปลง ว เป็น พ ช เป็น ค ศัพท์ต้นแปลง ค เป็น คฺค ศัพท์หลังวิการ อิ เป็น เอ ซ้อน พฺ.
  43. อุพฺภนา อุภนา : (อิต.) ความเต็ม, ฯลฯ. ศัพท์ หลังลบ พฺ หรือตั้ง อุภฺ ปูรเณ, ยุ.
  44. อุมงฺค อุมฺมงฺค : (ปุ. นปุ.) ช่องเป็นที่ไปใน เบื้องต่ำ, ทางใต้ดิน, ท่อน้ำ, อุมงค์, อุโมงค์. อโธปุพฺโพ, มคิ คติยํ, อ, ธโลโป, อสฺสุ. ศัพท์หลังซ้อน มฺ.
  45. อุมส อุมฺมส : (วิ.) ทิ่มแทง, เสียดแทง, ด่า, พ้อ. อุปุพฺโพ, มสฺ หึสายํ, อ. ศัพท์หลัง ซ้อน มฺ.
  46. อุรุเวลกสฺสป : (ปุ.) อุรุเวลกัสสป ชื่อชฏิลผู้ เป็นพี่ใหญ่ แห่งชฏิลสามพี่น้อง ภายหลัง เลื่อมใสในพระพุทธศาสนาและขอบวช.
  47. อุว อวยฺห : (ปุ.) ช้าง, ม้าชำนิ (ม้าสำหรับขี่ ม้าแสนรู้). ศัพท์แรก อุปุพฺโพ, วา คติยํ, อ. ศัพท์หลัง อุปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, โย. เปลี่ยนอักษร.
  48. อุสฺส อุสฺสนฺน : (วิ.) หนา, หนาขึ้น, มาก, สูง, สูงขึ้น. อุปุพฺโพ, สทฺ วิสรเณ, อ, สฺสํโย โค, ทฺโลโป. ศัพท์หลังลง ต ปัจ. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ท.
  49. เอกาทส เอการส : (ไตรลิงค์) สิบเอ็ด. วิ. เอกญฺจ ทสา จาติ เอกาทสา. อ. ทวัน. สิบยิ่งด้วยหนึ่ง วิ. เอเกน อธิกา ทสาติ เอกาทส. ต.ตัป. ศัพท์หลัง แปลง ท เป็น ร.ส. เอกาทศนุ
  50. เอตฺตาวตก : (วิ.) มีประมาณเท่านี้, มีประมาณ เท่านั้น. วิ. เอตํ ปริมาณ มสฺสาติ เอตฺ ตาวตโก. เอต+อาวตก ปัจ. ซ้อน ต. คำ แปลแรกเป็น เอต ที่แปลงมาจาก อิม คำ แปลหลังเป็น เอต ที่แปลว่า นั่น, นั้น.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1459

(0.0940 sec)