Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ดุ , then ดุ, ดู, ตุ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ดุ, 1548 found, display 951-1000
  1. เพลฺล : ป. ดู เพลุว
  2. โพธงฺคม : ป. ดู โพชฺฌงฺคม
  3. โพธิมห : ป. ดู โพธิปูชา
  4. โพธิรุกฺข : ป. ดู โพธิปาทป
  5. ภกฺเขติ : ก. ดู ภกฺขติ
  6. ภทฺท : (วิ.) งาม, ดี. (ตรงข้ามกับชั่ว), ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ, เป็นสุข, เจริญ ,จำเริญ, เรือง, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง, ประเสริฐ, น่ารัก, น่าชม, สบาย, สำราญ, สวัสดี, เป็นมงคล, หล่อ (งาม). ภทิ กลฺยาณสุขภาเวสุ, โท, รูปฯ ๖๕๕. ดู ภทฺร ด้วย.
  7. ภทนฺเต : (อัพ. นิบาต) ดู ภนฺเต.
  8. ภนฺทก : (วิ.) งาม, ฯลฯ. ดู ภทฺท.
  9. ภยทสฺสาวี : (วิ.) ผู้เห็นซึ่งภัยโดยปกติ วิ. ภยํ ปสฺสติ สีเลนาติ ภยทสฺสาวี. ฯลฯ. ดู ธมฺมจารี. ภย+ทิสฺ ธาตุ อาวี ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส.
  10. ภวราค : (ปุ.) ความกำหนัดในภพ, ความยินดีในภพ, ความติดใจในภพ, ความพอใจในภพ, ภวราคะ. ดู ไตร.๓๐ ข้อ ๑๓๖.
  11. ภาตพฺย : (ปุ.) ลูกของพี่ชาย วิ. ภาตุโน ปุตฺโต ภาตโพฺยฺ. ณฺย ปัจ. โคตตตัท. แปลง อุ ที่ ตุ เป็น อว ว เป็น พ ลบ อ ที่ ว ด้วย อำนาจ ณฺ ลบ ณฺ รูปฯ ๓๕๕.
  12. ภิติ ภีติ : (อิต.) ความกลัว, ฯลฯ. ติ ปัจ. ศัพท์ต้น รัสสะ อี เป็น อิ. ดู ภึสน.
  13. ภีย : (วิ.) ดู ภิยฺย.
  14. ภูมิป : ป. ดู ภูนาถ
  15. เภงฺค : (ปุ.) แมลงภู่, เขียด, กบ. ดู ภิงฺค.
  16. โภตฺตพฺพ : นป. ดู โภชฺช
  17. มจฺเฉร : นป. ดู มจฺฉร
  18. มฏฺฐก : (ปุ.) หัว, ศรีษะ. ดู มตฺถก.
  19. มตฺตญฺญู : (วิ.) ผู้รู้ซึ่งประมาณ, ผู้รู้จักพอดี, ผู้รู้ซึ่งประมาณโดยปกติ, ฯลฯ. ดู ธมฺมจารี.
  20. มตฺติก : (วิ.) มาข้างมารดา, เกิดแต่มารดา, อันเป็นของมีอยู่แห่งมารดา. ดู เปตฺติก.
  21. มนฺทคามี : (วิ.) เดินช้า, เดินช้าโดยปกติ, ฯลฯ. ณี ปัจ. ดู ธมฺมจารี เทียบ.
  22. มนุ : (ปุ.) พระมนู คือพระผู้สร้างมนุษยชาติและปกครองโลก, คนผู้เป็นคนแรกของคน, มนุษย์คนแรก, บุรพบุรุษของคน, ประชาบดี. วิ มนติ ชานาติ สตฺตานํ หิตาหิตนฺติ มนุ. มนฺ ญาเณ, อุ. อภิฯ รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. สัตว์โลก ก็แปล. ดู เวสสันฯ ข้อ๖๖๓.
  23. มโนสสุจริต : (ปุ.) กรรมอันบุคคลประพฤติดีแล้วด้วยใจ, ฯลฯ. ดู มโนทุจฺจริต เทียบ.
  24. มหคฺคตธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันถึงแล้วซึ่งความยิ่ง. ดู ไตร.๓๓ ข้อ ๖๗๘.
  25. มหายาน : (ปุ.) มหายาน ชื่อนิกายของคณะสงฆ์ในพระพุทธเจ้าศาสนาฝ่ายเหนือ เช่น ประเทศจีน ญวน ญี่ปุ่น เป็นต้น คู่กันกับหีนยาน ซึ่งเป็นนิกายของคณะสงฆ์ฝ่ายใต้ ดู หินยาน ด้วย.
  26. มาตุ : (อิต.) แม่ วิ. ปุตฺตํ มาเนตีติ มาตา (รักลูก). มานฺ ปูชายํ, ราตุ. ปาตีติ วา มาตา (ดูดดื่ม ซาบซึ้งในลูก). ปา ปาเน, ตุ. แปลง ปา เป็น มา. ศัพท์ มาตุ นี้แปลว่า ยาย ก็ได้. มาตุมาตุ. อภิฯ.
  27. มิคพฺพธ มิคพฺยธ : (ปุ.) คนฆ่าเนื้อ, พรานเนื้อ. มิคปุพฺโพ, หนฺ หึสายํ, อ. แปลง หน เป็น วธ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์หลัง ดู มิควฺยธ.
  28. มุทิงฺค : (ปุ.) กลองสองหน้า, ตะโพน. ดู มุติงฺค.
  29. มุสิก : (ปุ.) หนู, มุสฺ เถยฺเย, ณฺวุ แปลง ณฺวุ เป็น อก อ+สฺ เป็น ส แปลง อ ที่ ส เป็น อิ. ดู มูสิก.
  30. มูฬหฺ : (วิ.) ดู มุฬฺห ต่างแต่ทีฆะ อุ เป็น อู.
  31. มูฬฺห : กิต. ดู มุฬฺห
  32. ยมล : นป. ดู ยม
  33. รถี : ป. ดู รถาโรห
  34. ลปนา : อิต. ดู ลปน
  35. วฑฺฒนก : ค. ดู วฑฺฒก
  36. วตฺเตติ : ก. ดู วตฺตติ
  37. วนจารี : ค. ดู วนจรก
  38. วฺยย : ป. ดู วย
  39. วสานุค : ค. ดู วสค
  40. วิกฺเกตุ : ค. ดู วิกฺกยิก
  41. วิกฺขมฺภน : นป. ดู วิกฺขมฺภ.
  42. วิคาฬฺห : กิต. ดู วิคยฺห
  43. วิเภทิกา : อิต. ดู วิภีตก
  44. วิเรจน : นป. ดู วิเรก
  45. วิเหสก : ค. ดู วิเหฐก
  46. วิเหสา : อิต. ดู วิเหฐน
  47. วุทฺธ : ค. ดู วุฑฺฒ
  48. วุทฺธิ : อิต. ดู วุฑฺฒิ
  49. เวลณฺฑุก : นป. ดู เจลณฺฑุก
  50. สงฺโกเจติ : ก. ดู สงฺกุจติ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | [951-1000] | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1548

(0.0689 sec)