Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โดยทั่วๆ ไป , then ดยทวๆ, โดยทั่วๆ, ไบ, ไป .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โดยทั่วๆ ไป, 1556 found, display 101-150
  1. คตโยพฺพน : ค. ผู้มีวัยหนุ่มสาวผ่านพ้นไปแล้ว, ผู้พ้นวัยหนุ่มสาวไปแล้ว
  2. คติ : (อิต.) การเดินทางไปรบ, การยกทัพออก ไปรบ. คมฺ คติยํ, ติ, มฺโลโป. ส. คติ.
  3. คติ. : (อิต.) ภพเป็นที่ไปของสัตว์ (มีกามภพ เป็นต้น), ภูมิอันสัตว์พึงไป, ภูมิเป็นที่ไป ของสัตว์. วิ. สุกตทุกฺกตกมฺมวเสน คนฺตพฺ- พาติ คติ. ความหมดจด, ความสละสลวย, ความเป็นอยู่, ความรู้, ความสำเร็จ, ความตกลง(ลงเอย), ที่เป็นที่อยู่, ที่อาศัยแบบ, แบบอย่าง, ลักษณะ, กำเนิด, ความเกิด, คดี (เรื่อง ความที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), การส่ง, การไป, การเป็นไป, การดำเนิน, การดำเนินไป, การไป, การเคลื่อน, การถึง, การบรรลุ, ทาง, ทางไป, ทางดำเนิน, ทาง ดำเนินไป, อัชฌาสัย. วิ. คมนํ คติ. ส. คติ.
  4. คติก, คตี : ค. ผู้ไป, ผู้เดิน, ผู้อยู่
  5. คติคต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งอันไป, ลุกลามไปแล้ว.
  6. คตินิวตฺติ : (อิต.) การห้ามการไป, การหยุด, ฯลฯ.
  7. คติปฏิฆาต : (วิ.) กำจัดการไป, หยุด, ฯลฯ.
  8. คติเวกลฺล : (วิ.) ขาดแคลนการไป, ไปลำบาก, เป็นง่อย, เป็นกระจอก, เขยก.
  9. คนฺตุ : ป. ผู้ไป, ผู้ถึง
  10. คนฺตุ. : (วิ.) ผู้ไป วิ. คจฺฉตีติ คนฺตา. คมฺ คติยํ, ตุ. แปลง ตุ เป็น นฺตุ ลบ มฺ หรือไม่แปลง ตุ แปลง มฺ เป็น นฺ ก็ได้.
  11. คนฺตุกาม : (วิ.) ผู้ใคร่เพื่ออันไป วิ. คนฺตํ กาโม คนฺตุกาโม.
  12. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  13. คนฺธวาห : (ปุ.) ลม (นำกลิ่นไป).
  14. คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
  15. คพฺภปาตน : นป. การตกไปแห่งครรภ์, การแท้งลูก
  16. คม : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, การเดินทางไป, การเดินทางไปรบ, การยกทัพไปรบ, การเดินทัพไปรบ. วิ. คมนํ คโม. คมฺ ปัจ. ส. คมน.
  17. คมน : (นปุ.) ที่เป็นที่ไป, เรือน. คมฺ คติยํ, ยุ.
  18. คมนการณ : นป. เหตุแห่งการไป
  19. คมนฏฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่ไป.
  20. คมนนฺตราย : ป. อันตรายในการไปหรือการเดินทาง
  21. คมนา : (อิต.) การไป, การถึง, การเป็นไป.
  22. คมนาการ : (ปุ.) อาการคืออันไป, คมนาการ (การไป การถึง).
  23. คมนาคม : (ปุ.) การไปและการมา, คมนาคม (การไปมาติดต่อกัน ทางไปมาติดต่อกัน).
  24. คมนาคมน : นป. การคมนาคม, การไปและการมา
  25. คมนีย : ค. ควรไป, พึงไป, น่าไป
  26. คมานิ : (วิ.) ควรไป วิ. คมิตพฺพาติ คมานิ. อานิ ปัจ.
  27. คมิก : (วิ.) ผู้ปราถนาเพื่ออันไป วิ. คนฺตํ อิจฺฉตีติ คมิโก. ผู้ควรเพื่ออันไป วิ. คนฺตํ ภพฺโพติ คมฺโก. ผู้จะไป ผู้ไป วิ. คจฺฉตีติ คมิโก. อิก ปัจ. รูปฯ ๕๙๕.
  28. คมิก, คมิย : ค. ผู้เตรียมจะไป
  29. คมิกภตฺต : (นปุ.) ภัตเพื่อบุคคลผู้จะไป, ภัตเพื่อ ประโยชน์แก่บุคคลผู้จะไป, ภัตเพื่อบุคคล ผู้เดินทาง, ภัตเพื่อประโยชน์แก่บุคคลผู้จร มา.
  30. คเมติ : ก. ส่งไป, ให้ไป, เข้าใจ ; รอ
  31. คลติ : ก. หยาด, หยด, ฝนตก, ไหล, เลื่อนไป, พลัด, หล่น, กลืนกิน
  32. ควช : (ปุ.) โคลาน (งัวลาน คืองัวป่า), โค เพลาะ (วัวโทน เที่ยวไปโดดเดี่ยว). วิ. โค วิย วชติ อชตีติ วา ควโช. วชฺ อชฺ วา คมเน, อ.
  33. คาน : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, ความเป็นไป. คา คติยํ, ยุ.
  34. คาม : (ปุ.) อันไป, การไป, การถึง, การต้อง. วิ. คมนํ คาโม. คมฺ คติยํ, โณ. การไปของ ช้างเป็นต้น. หตฺถาทีนํ คมนกฺริยา คาโม.
  35. คามณิ : (ปุ.) คนผู้นำไปซึ่งชาวบ้าน, คนผู้นำ ชาวบ้าน, หัวหน้า, นายบ้าน, ผู้ใหญ่บ้าน. วิ. คามํ เนตีติ คามณิ. คามปุพฺโพ, นี นเย, อี, นสฺส ณตฺตํ, รสฺเส คามณิ (เป็น คามณิ เพราะรัสสะ อี เป็น อิ). อภิฯ ลง ณี ปัจ. เป็น คามนิ โดยไม่แปลง น บ้าง.
  36. คามิ คามี : (วิ.) ผู้มีการไปเป็นปกติ วิ. คมนํ สีล มสฺสาติ คามิ วา. ศัพท์แรกลง ฆิณฺ ปัจ. ลบ พยัญชนะเหลือแต่ อิ ศัพท์ หลังลง ณี ปัจ. รูปฯ ๖๓๑. อายตึ คมิตุ สีลํ ยสฺส โหตีติ คามี. กัจฯ ๖๕๑.
  37. คามี : (วิ.) ผู้ไป, ผู้ถึง, ผู้มีปกติไป, ผู้มีปกติถึง. ณี ปัจ.
  38. คาหติ : ก. ดำลงไป, ผ่านเข้าไป, โจนลงไป
  39. คาหน : นป. การดำลงไป, การโจนลงไป
  40. คูถนรก, - นิรย : นป. คูถนรก, นรกที่เต็มไปด้วยคูถ
  41. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  42. โคจร : (วิ.) เป็นที่เที่ยวไปแห่งอินทรีย์ วิ. คาโว อินฺทฺริยานิ จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร. เป็นที่เที่ยวไปราวกะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค. วิ. คาโว จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร. เที่ยวไป, ว่าย อุ. วาริโคจโร (ปลา) ว่ายในน้ำ. โคปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, อ.
  43. โคจรคาม : (ปุ.) บ้านเป็นที่เที่ยวแห่งภิกษุราว กะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, โคจรคาม คือ บ้านที่ภิกษุไปบิณฑบาตเสมอหมู่บ้านที่เป็นที่เที่ยวไปบิณฑบาตเสมอ หมู่บ้านที่ เป็นที่เที่ยวไปบิณฑบาตของสมณะ.
  44. โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
  45. โคยาน : (นปุ.) ที่เป็นที่นำโคไป วิ. คเว ยนฺติ เอตฺถาติ โคยานํ. อภิฯ น. ๒๒๘.
  46. ฆฏิกา : (อิต.) ลิ่ม, ไม้หึ่ง ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง โดยโยนไม้ท่อนสั้นๆ ขึ้นไป แล้วใช้ไม้ อีกอันหนึ่งตี ใช้ผลมะนาวโยนขึ้นไป แล้ว ตีด้วยมือก็ได้, ชั่วโมง.
  47. ฆณฺฏิก : (ปุ.) คนลาดตระเวน, คนผู้เที่ยวไป ด้วยจักร, คนผู้เที่ยวสดุดีเป็นหมู่. ฆณฺฏฺ ภาสเน, อิโก.
  48. ฆมฺมติ : ก. ไป, ถึง
  49. ฆุณฺณติ : ก. ไป, ถึง, เป็นไป; ถือ, จับ, ยึด
  50. ฆุณติ : ก. ไป, ถึง, เป็นไป
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1556

(0.0707 sec)