Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โดยทั่วๆ ไป , then ดยทวๆ, โดยทั่วๆ, ไบ, ไป .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โดยทั่วๆ ไป, 1556 found, display 201-250
  1. ฉฑฺฑน : นป. การทิ้ง, ผู้ซัดไป
  2. ฉฑฺฑนีย : ค. อันควรทิ้ง, อันควรซัดไป
  3. ฉฑฺฑาเปติ : ก. ให้ทิ้ง, ให้ขว้าง, ให้ซัดไป
  4. ฉฑฺฑียติ : ก. อันเขาทิ้งไป, อันเขาขว้าง
  5. ฉฑฺเฑติ : ก. ทิ้ง,ขว้าง, ซัดไป, สละ
  6. ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
  7. ฉทฺวาริกตณฺหา : (อิต.) ตัณหาอันเป็นไปใน ทวารหก.
  8. ฉนฺทามุนีต : ค. ซึ่งถูกความพอใจนำไปแล้ว
  9. ฉมติ : ก. กิน, บริโภค; ไปถึง, เป็นไป
  10. ฉินฺนิริยาปถ : (วิ.) ผู้มีอิริยาบถอันขาดแล้ว (คน เปลี้ย), ผู้มีอิริยาบถคืออันไปเป็นต้น อัน ขาดแล้ว. วิ. ฉินฺโน คมนาทิริยาปโถ โส ฉินฺนิริยาปโถ.
  11. ฉุฑฺฑ : ค. อันเขาทิ้ง, อันซัดไปแล้ว, เลว, ต่ำต้อย
  12. ฉุทฺธ : ค. อันเขาซัดไปแล้ว, อันเขาทิ้งไปแล้ว
  13. ชงฺคม : (วิ.) ไป, เคลื่อนไป, คลอนแคลน, กลับกลอก. ส. ชงฺคม.
  14. ชงฺคมติ : ก. เคลื่อนไหวไปมา
  15. ชงฺฆ : (ปุ.) ทางอันบุคคลดำเนินไปด้วยแข้ง, ทางเท้า. ส. ชงฺฆา.
  16. ชงฺฆมคฺค : (ปุ.) ทางอันสัตว์ไปด้วยแข้ง, ทาง เท้า วิ. ชงฺฆาหิ คโต มคฺโค ชงฺฆมคฺโค.
  17. ชนปทจาริกา : อิต. ผู้เที่ยวไปในชนบท
  18. ชมฺภติ : ก. หาว, บิดกาย, เอี้ยวกาย; ลุกขึ้น, เดินไป
  19. ชลโคจร, - จรก : ๑. ป. ปลา; ๒. ค. ผู้เที่ยวไปในน้ำ, ผู้อาศัยอยู่ในน้ำ
  20. ชลจร : (ปุ.) ทางน้ำ, สัตว์ผู้เที่ยวไปในน้ำ, สัตว์น้ำ, ปลา. วิ. ชเล จรตีติ ชลจโร. อ. ปัจ
  21. ชว : (วิ.) รับ, เร่ง, ด่วน, แล่นไป, ว่องไว, เชาว์. ส. ชว.
  22. ชวน : (วิ.) เดินเร็ว, แล่นไป, เป็นที่แล่นไป, ฯลฯ.
  23. ชาณุ ชานุ : (ปุ.) อวัยวะ อันยังการไปให้เกิด (เข่า หัวเข่า). วิ. คมนํ ชาเรตีติ ชาณุ ชานุ วา.
  24. ชาติกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งการเกิด, ความสิ้นชาติ
  25. ชิมฺหค : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปคด, งู. ชิมฺหปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, กฺวิ.
  26. ชีน : ค. เสื่อม, ลด, เปลือง, หมดไป
  27. ชียติ : ก. เสื่อม, หมดไป, เก่า, คร่ำคร่า, แก่
  28. ชีวิตกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นไปแห่งชีวิต, ชีวิตักษัย, ตักษัย ( ใช้ในบทกลอน ).
  29. ชีวิตปจฺจย : (ปุ.) เครื่องอาศัยเป็นไปของชีวิต, ปัจจัยของชีวิต.
  30. ชีวิตวุตฺติ : อิต. ความเป็นไปแห่งชีวิต, ความเป็นอยู่, การดำรงชีพ
  31. ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
  32. ชุหติ : ก. เทลงไปในไฟ, บูชาไฟ, อุทิศให้
  33. ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
  34. ญาตตฺถจริยา : (อิต.) ความประพฤติเป็นไป เพื่อประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ เป็นประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ เพื่อประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ ประโยชน์ของญาติ.
  35. ญาติเปต : ป. ญาติที่ล่วงลับไปแล้ว, ญาติที่ตายแล้ว
  36. ญายปฏิปนฺน : (วิ.) ถึงเฉพาะแล้วซึ่งธรรม เป็นเครื่องออกไป, ถึงเฉพาะแล้วซึ่ง ธรรมอันควร, ปฏิบัติควร, ปฏิบัติเพื่อ พระนิพพาน.
  37. ฐานาฐาน : (นปุ.) ความเป็นไปได้และความเป้นไปไม่ได้, สิ่งที่เป็นไปได้และสิ่งที่เป็น ไปไม่ได้, ฐานะและอฐานะ.
  38. ฐานานุกฺกม : (ปุ.) อันก้าวไปตามซึ่งตำแหน่ง, ความก้าวไปตามฐานะ, ฐานานุกรม ชื่อ ลำดับตำแหน่งสมณศักดิ์พระสงฆ์ ซึ่งพระ ราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามที่ ท่านได้มาเมื่อรับพระราชทานสมณศักดิ์.
  39. ฐิ ติ : (อิต.) การหยุด, การหยุดไว้, ฯลฯ, ความหยุด, ฯลฯ, ความอดทน, ความทนทาน, ความมั่นคง, ความแน่นอน, ความเป็นไป, ความมีชีวิตอยู่, ฐานะ, เหตุ, ข้อบังคับ, ข้อ บัญญัติ, ประธานกริยา. วิ. ฐานํ ฐิติ. ฐา+ ติ ปัจ. แปลง อา เป็น อิ.
  40. ตขณิก : (วิ.) อันเป็นไปในขณะนั้น
  41. ตงฺค : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป. ตคิ คติยํ อ. ยุ.
  42. ตงฺคน : (นปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป. ตคิ คติยํ อ. ยุ.
  43. ตณฺหกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นแห่งตัณหา ( หาย อยาก ) ความสิ้นไปแห่งตัณหา, ธรรม เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา, ตัณหักขยะ ชื่อ ของพระนิพพาน, พระนิพพาน.
  44. ตต : (วิ.) แผ่, แผ่ไป, ขยาย, กว้างขวาง., แพร่หลาย. ตนุ วิตฺถาเร, โต, นฺโลโป.
  45. ตถาคต : (ปุ.) ท่านผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือไปตรงต่อความจริง, พระตถาคต เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ตโถ อาคโท เอตสฺสาติ ตถาโต (มีโวหารถูก ต้องหรือตรัสจริง) ตถ+อาคท แปลง ท เป็น ต หรือ ตถ แล อา+คมฺ+ต ปัจ. ลบ ที่สุดแห่งธาตุ. อภิฯ วิ. ยถา ปุริมกา สมฺพุทฺธา คตา ตถาคโตติ ตถาคโต. และ ชื่อว่า พระตถาคต เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ : ๑. ตถา อาคโตติ ตถาคโต. ๒. ตถา คโตติ ตถาคโต. ๓. ตถลกฺขณํ อาคโตติ ตถาคโต. ๔. ตถธมฺเมยาถาวโต อภิสมฺพุทฺโธติ คถาคโต. ๕. ตถทสฺสิตาย ตถาคโต. ๖. ตถวาทิตาย ตถาคโต. ๗. ตถาการิตาย ตถาคโต. ๘. อภิภวนฏฺเฐน ตถาคโต.
  46. ตทคฺเค : ก. วิ. ตั้งแต่นี้ไป
  47. ตทงฺควิกฺขมฺภนสมุจฺเฉทปฏิปสฺสทฺธินิสฺสร – ณวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยสามารถ แห่งองค์นั้นๆ และความหลุดพ้นด้วย สามารถแห่งอันข่ม และหลุดพ้นด้วย สามารถแห่งอันสงบเฉพาะและความหลุดพ้นด้วยสามารถแห่งอันออกไป.
  48. ตนฺต ตนฺตร : (นปุ.) การแผ่, การแผ่ไป, การขยาย, การขยายไป. ตนุ วิตฺถาเร, ต, ตรณฺ ปัจ. รูป ฯ ๖๕0.
  49. ตนน : (นปุ.) การแผ่, การแผ่ไป, การขยาย, การขยายไป, ความแพร่หลาย, ความกว้างขวาง. ตนุ วิตฺถาเร, ยุ.
  50. ตมปรายน : ค. มีความมืดเป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มีความมืดต่อไปคือไปสู่ทุคติ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1556

(0.0892 sec)