Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โดยทั่วๆ ไป , then ดยทวๆ, โดยทั่วๆ, ไบ, ไป .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โดยทั่วๆ ไป, 1556 found, display 951-1000
  1. สาวชฺช : (วิ.) อันเป็นไปกับด้วยโทษอันบัณฑิตพึงเว้น, อันเป็นไปกับด้วยโทษ, มีโทษ. สห+วชฺช แปลง สห เป็น สา.
  2. สาหส : (วิ.) เป็นไปพลัน, ผลุนผลัน, ร้ายแรง, รุนแรง, เร็ว, พลัน, เร็วพลัน, ยิ่ง, นัก, ยิ่งนัก, สาหัส(หนักรุนแรง). สห (พล)+ ณ ปัจ. ลงในอรรถ ปภว สฺ อาคม.
  3. สาหสิก : (วิ.) เป็นไปพลัน, ฯลฯ. ส. สาหสิก.
  4. สาหุตฺถิกปโยค : (ปุ.) ประโยคที่ประกอบด้วยมือของตน, ฯลฯ, ประโยคที่ทำเอง. การรักษาศีล จะเป็นศีล ๕ ศีล ๘ หรือศีล ๑๐ ก็ตาม ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๓ เป็นต้นไป เป็นสาหัตถิประโยค ทำเองศีลจึงขาด ใช้ให้เขาทำศีลตนเองไม่ขาด.
  5. สิกฺขมานา : (อิต.) นางสิกขมานา ชื่อของสามเณรี ผู้มีอายุครบ ๑๘ ปี แล้ว รักษาสิกขาบทตั้งแต่ปาณาติปาตา เวรมณี ถึง วิกาลโภชนา เวรมณี ๖ สิกขาบทไม่ให้ขาดครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทเป็นภิกษุณีได้ ถ้าขาดสิกขาบทใดสิกขาบท ๑ ต้องนับตั้งต้นไปใหม่จนครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทได้. วิ. สิกฺขตีติ สิกฺขมานา สิกฺขฺ วิชฺโชปาทานาเน, มาโน.
  6. สิริสป สิรึสป : (ปุ.) สัตว์ผู้เสือกไปด้วยศรีษะ, สัตวเสือกคลาน, สัตว์เลื้อยคลาน. สิรปุพฺโพ, สปฺปฺ คคิยํ, อ. แปลง อ ที่ ร เป็น อิ ลบ ปฺ สังโยค ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม.
  7. สีฆยายี : (วิ.) ผู้ไปเร็วโดยปกติ, ฯลฯ.
  8. สุขิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสุข วิ. สุขํ อิโต สุขิโต. ผู้สบาย. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อิโต, ผู้มีความสุขเกิดแล้ว ผู้มีความสุขเกิดพร้อมแล้ว วิ. สุขํ ชาตํ สํชาตํ วา เอตสฺสาติ สุขิโต. ผู้เป็นไปด้วยความสุข ว. สุเขน อิโต ปวตฺโตติ สุขิโต.
  9. สุคต : (ปุ.) พระผู้ดำเนินไปดี พระผู้ดำเนินไปงาน วิ. สุนฺทโร คโต สุคโต. พระผู้ตรัสดี วิ. สุฏฐ คทตีติ สุคโต. สุฏฐปุพฺโพ, คทฺวิยตฺติยํ วาจายํ, อ, ทสฺส โต. พระผู้ทรงบรรลุฐานะอันงาน วิ. สุนฺทรํ ฐานํ คจฺฉตีติ สุคโต. พระผู้ทรงบรรลุพระนิพพานอันงาม วิ. สุนฺทรํ นิพฺพานํ คจฺฉตีติ สุคโต. คมฺคติยํ, โต, มโลโป. พระผู้เสด็จมาดี วิ. สมฺมา อาคโต สุคโต. ลบมฺมาและอา แปลง อ ที่ ส เป็น อุ. พระสุคต พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวงทรงนาม ๑ ใน ๓๒ พระนาม. ส.สุคต.
  10. สุคติ : (อิต.) ภูมิอันสัตว์พึงไปดี, ภูมิเป็นที่ไปดี, การไปดี, ภูมิดี, ภูมิเป็นที่ไปด้วยความดี, ที่เป็นที่ไปที่ดี, ที่เป็นที่อยู่ที่ดี, กำเนิดดี, ทางดี, สวรรค์, วิ. สุนฺทรา คติ สุคติ. เป็นสุคฺคติ โดยซ้อน คฺ บ้าง.
  11. สุญฺญ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สงัด, หาแก่นมิได้, ไม่มีอะไร, หายไป, หายสิ้นไป, สูญ (หมด ไม่มีอะไรเหลือ). วิ. สุนสฺส หิตํสุญฺญํ (เกื้อกูลแก่การไป). สุน+ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ สุนติ ตุจฺฉภาวํ คจฺฉตีติ วา สุญฺญํ. สุนฺ สคติยํ, โย. ส.ศุนย.
  12. สุต : (วิ.) ฟัง, สดับ, ได้ยิน, ได้ฟัง, ไหล, ไหลไป, เปียก, ชุ่ม. สุ สวเน, โต. เบียดเบียน, ผูก, จำ, สะสม, ติดต่อ, ละเอียด, ป่น. สุ อภิสเว. ขวนขวาย, แสวงหา, ปรากฏ, มีชื่อเสียง. สุ คติวุทีสุ.
  13. สุทุตฺตร : (วิ.) อัน...ข้ามได้ด้วยยากยิ่ง, อันบุคคลข้ามได้ด้วยความยากยิ่ง, ข้ามไปได้ด้วยความยากยิ่ง.
  14. สุปนฺถ สุปถ : (ปุ.) ทางที่สัญจรไปได้ด้วยดี, ทางดี.
  15. สุรา : (อิต.) ปานชาติยังความกล้าให้เกิด, น้ำจันฑ์, สุรา คือน้ำเมาที่กลั้นแล้ว. วิ. สุรํ ชเนตีติ สุรา. สุเรน นาม วนจรเกน กตา ปานชาติ สุรา. ปานชาติอันบุคคลผู้เที่ยวไปในป่าชื่อสุระทำแล้วชื่อ สุรา. หรือตั้ง สุ อภิสเว ปิวเน วา, โร, อิตฺถิยํ อา. ส. สุรา.
  16. สุริยุคฺคมนเวลา : (อิต.) เวลาเป็นที่ขึ้นไปแห่งพระอาทิตย์, เวลาเช้า, เวลาได้อรุณ.
  17. สุวิมล : (วิ.) มีมลทินไปปราศแล้วด้วยดี, ใสดี, ผ่องใส.
  18. เสก : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, ความเป็นไป. เสกฺ คติยํ, อ.
  19. เสทน : นป. การถ่ายออก, การแล่นไป
  20. เสเทติ : ก. ถ่ายออก, แล่นไป
  21. เสเสติ : ก. ลาไป, จากไป, ทิ้งไป
  22. โสตาปตฺติ : (อิต.) การถึงซึ่งธรรมอันยังกิเลสให้แห้ง, ความถึงซึ่งธรรมอันยังกิเลสให้แห้ง, การถึงซึ่งกระแสเป็นที่ไปสู่พระนิพพาน, การถึงซึ่งกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่าโสตะ, ความบรรลุซึ่งกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่า โสตะ.
  23. โสมปม : (วิ.) เป็นไปกับด้วยอุปมา.
  24. หฏ : กิต. นำไปแล้ว
  25. หตฺถคต หตฺถงฺคต : (วิ.) ไปแล้วในมือ, อยู่ในมือ, มีอยู่ในมือ.
  26. หตฺถปาส : (ปุ.) บ่วงแห่งมือ, บ่วงมือ, หัตถบาส ชื่อของระเบียบปฏิบัติสำหรับภิกษุสงฆ์ผู้เข้าร่วมประชุมทำสังฆกรรม จะต้องอยู่ในหัตถบาสของกันและกัน คืออยู่ในระหว่าง ๒ ศอก-คืบ ถ้ายืนก็ห่างกันประมาณ ๑ ศอก ถึง ๑ ศอกคืบ ถ้านั่งก็ห่างกัน ๑ คืบ ต่อ ๆ กันไป และยังใช้เกี่ยวกับคฤหัสถ์ผู้ประเคน (ถวาย) ของแด่ภิกษุสงฆ์ด้วย จะต้องเข้ามาในหัตถบาส คือห่างจากภิกษุผู้รับ ๑ ศอก สำหรับสุภาพสตรีเข้าไปประเคน (ถวาย) อยู่ในระยะ ๑ ศอกนี้ ดูไม่งาน เช่นบางกรณีคือ ถวายของในพิธีมงคลสมรส.
  27. หร : (วิ.) จับ, ถือ, ยึด, จับเอา, ถือเอา, ยึดเอา, ยึดไว้. หรฺ อาทาเน, อ. นำ, นำไป, นำออก. หรฺ อปนยเน นยเน วา, อ. ส. หร.
  28. หรณ : (วิ.) เป็นไป, เป็นอยู่, อยู่, อาศัยอยู่.
  29. หริตุ : ป. ผู้นำไป
  30. หานภาคิย : ค. เป็นไปในส่วนที่เสื่อม
  31. หารก : ค. ผู้นำไป
  32. หาริย : ค. ควรหิ้วไปได้
  33. หารี : (วิ.) ผู้ควารเพื่ออันนำไปซึ่งภาะระ วิ. ภารํ หริตุ ํ ยุตฺโตสีติ หารี. ณี ปัจ.
  34. หิยฺโย : (อัพ. นิบาต) วันล่วงไปแล้ว, วันวาน, วานนี้, ในวันวาน. กาลสัตตมีนิบาต.
  35. อกฺกมติ : ก. เหยียบย่ำ, ก้าวไป
  36. อกฺขิ : (นปุ.) ตา, ดวงตา, นัยน์ตา (หมายเอาลูกตาที่กลอกไปมา)วิ. อสติ วิสเยสุพฺยาปีวิย ภวตีติ อกฺขิ. อสุ พฺยาปเน, ขิ, สสฺส โก. อถวา, อกฺขติ วิสเยสุ พฺยาปีภวติ อกฺขติ วา เอเนนาติ อกฺขิ. อกฺข พฺยาปนทสฺสเนสุ, อิ. ส. อกฺษิ.
  37. อกฺโขหิณี : (อิต.) อักโขหิณี เป็นชื่อของเสนา(ไพร่พล) อธิบายว่า ไม้ไผ่ ๖๐ มัดๆละ ๖๐ ลำอันเสนาผู้ไปอยู่ทำให้ป่นปี้ เสนาเช่นนี้ชื่อว่า อักโขหิณีอีกอย่างหนึ่งเป็น ชื่อของจำนวนเลขอย่างสูง คือเลข ๑ มีสูญ ๔๒ สูญ. เป็น อกฺโขภิณี อกฺโขภินี ก็มี.ส. อกฺเษาหิณี.
  38. อกติ : ก. คด, งอ, บิดไปบิดมา
  39. อกาลิย : (วิ.) ไม่เป็นไปในกาล, ไม่ประกอบด้วยกาล, ฯลฯ.
  40. อค : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปคด, งู.อคฺ กุฏิคติยํ, อ. ส.อค.
  41. อคติ : (อิต.) ธรรมชาติมิใช่เป็นที่ไปแห่งพระอริยเจ้า, ธรรมชาติมิใช่เครื่องไปแห่งพระอริยเจ้า, ภูมิมิใช่เป็นที่ไปแห่งพระอริยเจ้า, ภูมิมิใช่เป็นที่ไปแห่งท่านผู้รู้, กิริยาที่ไม่ควรถึง, กิริยาที่ไม่ควรประพฤติ, คติไม่ควร.นปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, ติ, มฺโลโป.ความลำเอียง. อคฺ กุฏิลคติยั, ติ. ส. อคติ.
  42. อฆคต : ค. ไปในอากาศ
  43. องฺคติ : ก. ไป, ถึง, เป็นไป
  44. องฺคมงฺคานุสาริวาย : (ปุ.) ลมอันพัดไปสู่อวัยวะน้อยและอวัยวะใหญ่, ลมพัดทั่วไปในร่างกาย, ลมที่อยู่ทั่วไปในร่างกาย.
  45. องฺครกฺข : (ปุ.) บุคคลผู้ป้องกันองค์พระมหากษัตริย์, บุคคลผู้รักษาตัว (หมายถึงตัวของบุคคลอื่นที่ตนมีหน้าที่ไปรักษาป้องกัน).ส. องฺครกฺษ.
  46. องฺคานุสารี : (ปุ.) ลมอันแล่นไปตามซึ่งอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันพัดไปตามอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันมีปกติแล่นไปตามอวัยวะทั้งปวง. วิเคราะห์ว่าสพฺพงฺเค อนุสรติ สีเลนาติ องฺคานุสารี.เป็นต้น.สพฺพงฺค บทหน้า อนุบทหน้าสรฺ ธาตุในความแล่นไป ณี ปัจ.ลบ.สพฺพ. แปลว่าลมพัดไปตามตัว โดยไม่ลงในอรรถสีลก็ได้.
  47. อจงฺกม : ค. ไม่ควรเดินจงกรม, ไม่ควรก้าวไป
  48. อจฺจนฺติก : (ปุ.) เป็นไปโดยส่วนเดียว, เป็นไปล่วงส่วน.
  49. อจฺจย : (ปุ.) การล่วงไป, การก้าวล่วง, การเป็นไปล่วง, การล่วงละเมิด, การดูหมิ่น, ความล่วงไป, ฯลฯ, ความผิด, โทษอันเป็นไปล่วง, โทษอันล่วงเกิน, กาลเป็นที่เป็นไปล่วง, ความล่วงลับไป, ความตาย, วิ. อติกฺกมิตฺวา อยนํ อจฺจโย.อติปุพฺโพ, อิ คติยํ, โณ. ส. อตฺยยฺ.
  50. อจฺจสร : ค. ล่วงไป, เกินไป, เกินวิสัย
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | [951-1000] | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1556

(0.0557 sec)