Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ซึ่งหน้า, หน้า, ซึ่ง , then ซง, ซงหนา, ซึ่ง, ซึ่งหน้า, หนา, หน้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ซึ่งหน้า, 1636 found, display 1001-1050
  1. มตฺตญฺญู : (วิ.) ผู้รู้ซึ่งประมาณ, ผู้รู้จักพอดี, ผู้รู้ซึ่งประมาณโดยปกติ, ฯลฯ. ดู ธมฺมจารี.
  2. มตฺตาสุขปริจาค มตฺตาสุขปริจฺจาค : (ปุ.) การสละรอบซึ่งสุขพอประมาณ, การเสียสละซึ่งสุขมีประ มาณน้อย, การสละซึ่งสุขพอประมาณ.
  3. มธุลีห : (ปุ.) สัตว์ผู้เลียซึ่งน้ำหวาน, ผึ้ง, แมลงภู่. วิ. มธุ ลีหนีติ มธุลีโห. มธุ-ปุพฺโพ, ลีหฺอสฺสาทเน, อ.
  4. มนฺตปารคู : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งฝั่งแห่งมนต์, ผู้เรียนจบมนต์, ผู้ถึงซึ่งฝั่งแห่งเวท, ผู้เรียนจบเวท.
  5. มนฺธาตุ : (ปุ.) มันธาตุ ชื่อของพระราชา, พระราชาพระนามว่ามันธาตุ, พระเจ้ามันธาตุราช ชื่อของพระราชาผู้ยิ่งใหญ่พระองค์หนึ่งสามารถบันดานให้ฝนตกเป็น กหาปณะ มํ+ธาตุ (ผู้ทรงไว้ซึ่งสิริ).
  6. มนุสฺส : (ปุ.) ผู้มีใจสูง, ชนผู้มีใจสูง วิ. มโน อุสฺโส อสฺสาติ มนุสฺโส. ชนผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสภาวิมิใช่เตุ วิ. การณาการณํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์และภาวะมิใช่ประโยชน์ วิ. อตฺถานตฺถํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งธรรมอันเป็นกุศลและอกุศล วิ. กุสลากุสเล ธมฺเม มนตีติ มนุสฺโส. มนฺ ญาเณ, อุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์ของตนตามกำลัง วิ. ยถาพลํ อตฺตโน หิตํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้เป็นเหล่ากอของพระมนู, ชาย, มนุษย์, ประชาชน, คน. วิ. มนูโน อปจฺจํ มนุสฺโส. อสฺส ปัจ. โคตดตัท. อภิฯ กัจฯ ๖๗๓.
  7. มนุสฺสปฏิลาภ : (ปุ.) การได้เฉพาะซึ่งอัตภาพแห่งมนุษย์, การได้เฉพาะซึ่งอัตภาพเป็นมนุษย์.
  8. มมฺมจฺเฉทวจน : (นปุ.) คำเป็นเครื่องตัดเสียซึ่งความรักเป็นเหตุตาย.
  9. มรณปตฺต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งความตาย, มีความตายอันถึงแล้ว.
  10. มรณานุสฺสติ : (อิต.) ระลึกถึงซึ่งความตาย, ความนึกถึงความตาย, การนึกถึงความตาย. วิ. มรณานํ อนุสฺสติ มรณานุสฺสติ. เป็น ฉ. ตัป. รูปฯ ๓๓๖.
  11. มล : (นปุ.) ธรรมชาตอันตัดเสียซึ่งความเป็นของอันยังใจให้เจริญ, สิ่งอันตัดเสียซึ่งความเจริญของใจ. มน+ลุ ธาตุ อ ปัจ.
  12. มหกมฺม : (นปุ.) การกระทำซึ่งการบูชา ฯลฯ, การกระทำซึ่งการสมโภช, การบูชา,ฯลฯ, การสมโภช, มหกรรม (การฉลองการบูชา).
  13. มหคฺคต : (วิ.) อันถึงแล้วซึ่งความเป็นใหญ่, (จิต) ที่ถึงแล้วซึ่งความเป็นใหญ่คือได้รูฌาณและอรูปฌาณ.
  14. มหคฺคตธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันถึงแล้วซึ่งความยิ่ง. ดู ไตร.๓๓ ข้อ ๖๗๘.
  15. มหลฺล มหลฺลก : (วิ.) ใหญ่, โต, มาก, แก่, ผู้ถือเอาซึ่งความเป็นผู้ใหญ่โดยอายุ. วิ. อายุมหตฺตํ ลาตีติ มหลฺโล มหลฺลโก วา.
  16. มหากจฺจายน : (ปุ.) พระมหากัจจายนะ ชื่อ พระเถระครั้งพุทธกาลองค์หนึ่ง ซึ่งเป็นเอตทัคคะในการบรรยายธรรมให้พิสดาร.
  17. มหาธาตุ : (ปุ. อิต.) ธาตุใหญ่, ทองคำ, มหาธาตุ เป็นคำเรียกสถูปที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ และเป็นคำเรียกวัด ซึ่งมีสถูปหรือสถานที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ เช่น วัดมหาธาตุ วัดพระศรีรัตน มหาธาตุ วัดพระศรีมหาธาตุ เป็นต้น.
  18. มหานส : (นปุ.) โรงมีวัตถุอันบุคคลพึงกินมาก, สถานที่หุง, โรงครัว, เรือนครัว, ครัว. วิ. มหนฺตานิ พหูนิ อสิตพฺพานิ ภวนฺติ เอตฺถาติ มหานสํ. มหนฺตปุพฺโพ, อสฺ ภกฺขเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อน แล้ว แปร น ไว้หน้า ส. และแปลง มหนฺต เป็น มหา.
  19. มหายาน : (ปุ.) มหายาน ชื่อนิกายของคณะสงฆ์ในพระพุทธเจ้าศาสนาฝ่ายเหนือ เช่น ประเทศจีน ญวน ญี่ปุ่น เป็นต้น คู่กันกับหีนยาน ซึ่งเป็นนิกายของคณะสงฆ์ฝ่ายใต้ ดู หินยาน ด้วย.
  20. มหาลิ : (วิ.) ผู้ถือเอาซึ่งประโยชน์ใหญ่. วิ. มหนฺตํ อตฺถํ ลาตีติ มหาลิ. อิ ปัจ.
  21. มหาหิงฺคุ : (ปุ.?) มหาหิงคุ์ ชื่อของเครื่องยาอย่างหนึ่งซึ่งเป็นยางของต้นหิงคุ.
  22. มหิลามุข : (ปุ.) ช้างมีหน้าเพียงดังหน้าแห่งช้างพัง, ช้างมงคลชื่อ มหิลามุข.
  23. มโหทธิ : (ปุ.) ประเทศทรงไว้ซึ่งน้ำมาก, ทะเลใหญ่, มหาสมุทร. วิ. มโหทกํ ทธาตีติ มโหทธิ. มหนฺตํ มุทกํ ธียติ เอตฺถาติ มโหทธิ. อิ ปัจ.
  24. มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑.  เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
  25. มาตุคาม : (ปุ.) อัตภาพมีบ้านดังบ้านแห่งมารดา, อัตภาพถึงซึ่งความเป็นผู้เสมอด้วยมารดา, ชนผู้เป็นไปเหมือนแม่, ชนผู้มีเพศแม่, หญิงชาวบ้าน, หญิง, ผู้หญิง, หญิงมนุษย์. วิ. มาตุยา คาโม วิย คาโม ยสฺสา สา มาตุคาโม. มาตา วิย คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. มาตุยา สมภาวํ มิสฺสีภาวญฺจ คจฺฉตีติ วา มาตุคาโม. คมุ คมเน, โณ. มาตา วิย คสตีติ วา มาตุคาโม. คสฺ อทเน, โณ, สสฺส โม. มาตา วิย คายตีติ วา มาตุคาโม. เค สทฺเท, โม. แปลง เอ เป็น อา.
  26. มาตุลานี : (อิต.) ป้าสะใภ้, น้าสะใภ้ (ภรรยาของพี่ชายแม่ ภรรยาของน้องชายแม่). วิ. มาตุลสฺส ภริยา มาตุลานี. มาตุล+อี อิต. เพราะลง อี ปัจ. ให้เอา อ ที่ ล เป็น อาน รูปฯ ๑๘๙. ในบางแห่งแปลว่า ป้า น้า ซึ่งเป็นพี่น้องของพ่อก็มี ?
  27. มาทิกฺข มาทิส มาที มาริกฺข มาริส : (วิ.) ผู้เช่นกับด้วยเรา, ผู้เช่นเรา. วิ. มมิว นํ ปสฺสตีติ มาทิกฺโข. อหํ วิย โส ทิสฺสตีติ วา มาทิกฺโข. อมฺห บทหน้า ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. แปลง อมฺห เป็น ม ทีฆะ รูปฯ ๕๗๒.
  28. มารวิชย : (ปุ.) การชนะวิเศษซึ่งมาร, การชนะมาร, ความชนะมาร, มารวิชัย (ผู้ชนะมาร). เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า, พระพุทธเจ้า. คำ มารวิชัย นี้ไทยใช้เรียก พระพุทธรูปปางชนะมาร คือ ประทับนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ขวาพาดพระชานุ (เข่า).
  29. มาลินี : (อิต.) หญิงผู้ถือเอาซึ่งสิริ, หญิงมีสิริ. มา+ลา อาทาเน, อ, อินี.
  30. มิคทาย มิคทายวน : (นปุ.) ป่าเป็นที่ให้ซึ่งอภัยแก่เนื้อ, สวนสัตว์, มิคทายวัน, มฤคทายวัน.
  31. มิตภาณี : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งคำพอประมาณ, ผู้มักกล่าวซึ่งคำพอประมาณ, ผู้มักว่าขานซึ่งคำพอประมาณ, ผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลนับแล้วโดยปกติ, ฯลฯ, ผู้พูดพอควร, ผู้พูดพอประมาณ.
  32. มิฬฺห มีฬฺห : (นปุ.) อุจจาระ, ขี้. มิหฺ เสจเน, โล. แปลง ล เป็น ฬ แล้วแปรไว้หน้า ห หรือตั้ง มีลฺ นิมีลเน, โห. อภิฯ.
  33. มุขจนฺท : (ปุ.) หน้าเพียงดังดวงจันทร์.
  34. มุขจุณฺณก : (นปุ.) เครื่องผัดหน้า, แป้งผัดหน้า.
  35. มุขโธวน : นป. การล้างหน้า, การล้างปาก
  36. มุขปุญฺฉน : นป. การเช็ดหน้า, ผ้าเช็ดหน้า
  37. มุขผุลฺล : (นปุ.) เครื่องประดับหน้า วิ. มุเข ผุลฺลตีติ มุขผุลฺลํ. ผุลฺลฺ วิกสเน, อ.
  38. มุขวิการ : ป. การปุ้ยปาก, การเสนอหน้า
  39. มุขวิเลปน : (นปุ.) เครื่องทาหน้า, เครื่องไล้หน้า.
  40. มุโขทก : (นปุ.) น้ำสำหรับบ้วนปาก, น้ำบ้วนปาก, น้ำสำหรับล้างหน้า, น้ำล้างหน้า.
  41. มุโขโลกน : นป. การมองดูหน้า, การเห็นแก่หน้า
  42. มุตฺตามุตฺต : (นปุ.) ไม้เท้าซึ่งเป็นศัตราชนิดหนึ่งเป็นต้นชื่อ มุตตามุตตะ.
  43. มุติงฺค : (ปุ.) กลองสองหน้า, ตะโพน. วิ. มุทํ ปโมทํ อิงฺคติ อเนนาติ มุติงฺโค. มุทปุพฺโพ, อิงฺคฺ คมเน, อ, ทสฺส โต.
  44. มุทฺธาภิเสก : (ปุ.) การรดเฉพาะซึ่งศรีษะ, การรดซึ่งศรีษะ, มุรธาภิเสก (การรดน้ำที่พระเศียรในงานราชาภิเษก).
  45. มุทิงฺค : (ปุ.) กลองสองหน้า, ตะโพน. ดู มุติงฺค.
  46. มุสาวาท : (ปุ.) การกล่าวซึ่งคำเท็จ, การกล่าวซึ่งคำปด, การพูดเท็จ, การพูดปด, การกล่าวคำเท็จ, คำเท็จ, คำปด, คำไม่จริง.
  47. มุฬฺห : (ปุ.) ความหลง, ความเขลา, ความโง่. มุหฺ เวจิตฺเต, โฬ. กลับอักษร เอา ฬ ไว้หน้า ห.
  48. มูลกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฏฐานเดิม, กัมมัฏฐานอันเป็นเดิม, ได้แก่ เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ซึ่งพระอุปัชฌาย์ให้เมื่อขอบรรพชาอุปสมบท.
  49. มูลิก : ค. ซึ่งเป็นพื้นฐาน
  50. เมตฺเตยฺย : (ปุ.) พระเมตไตรยบรมโพธิสัตว์ ซึ่งจะมาตรัสรู้ต่อจากพระสมณโคดม.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | [1001-1050] | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1636

(0.1242 sec)