Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ซึ่งหน้า, หน้า, ซึ่ง , then ซง, ซงหนา, ซึ่ง, ซึ่งหน้า, หนา, หน้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ซึ่งหน้า, 1636 found, display 1201-1250
  1. อคฺคช : (ปุ.) บุคคลผู้เกิดก่อน, ลูกคนหัวปี, ลูกคนแรก, พี่ชาย.อคฺค บทหน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ, ลบ นฺ. ส. อคฺรช.
  2. อคฺคราชฑูต : (ปุ.) อัครราชฑูต ชื่อผู้แทนพระเจ้าแผ่นดินผู้เลิศ ซึ่งประจำชั่วคราวหรือ ประจำอยู่ในสำนักแห่งรัฐบาลอื่น มีฐานะสูงกว่าราชฑูต.
  3. องฺคณ : (นปุ.) กิเลสชาตเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ถึงภพน้อยและภพใหญ่, กิเลสชาตเป็นเครื่องถึงภพน้อยและภพใหญ่, กิเลสเพียงดังเนิน, กิเลสยวนใจ, กิเลสเครื่องยียวน, มลทิน, เปลือกตม, เนิน, ลาน, ลานข้าว, ที่ว่าง, ที่โล่งแจ้ง, ภุมิภาค.องฺค คมเน, ยุ, นสฺส โณ (แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุเป็น ณ).
  4. องฺคิก : ค. ซึ่งประกอบด้วยส่วนต่างๆ
  5. อจฺจนฺตทุสฺสีลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีศีลชั่วเป็นไปล่วงซึ่งส่วนสุด, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีศีลอันโทษประทุษร้ายแล้วโดยแท้, ความเป็นผู้ทุศีลล่วงส่วน.
  6. อจฺฉนฺน : ค. ซึ่งปกปิด, ห่อหุ้ม
  7. อจฺเฉชฺช : ค. ซึ่งตัดหรือทำลายไม่ได้
  8. อชฺฌตฺต : (วิ.) อันเป็นไปทับซี่งตน, อันเป็นไปในภายใน, ทับตน, เฉพาะตัว, ส่วนตัวภายใน, อาศัยซึ่งจิตเป็นไป. แปลอตฺตว่าจิต.
  9. อชฺฌตฺตนิลกสิณาทิรูปชฺฌานวส : (ปุ.) อำนาจแห่งการเพ่งซึ่งรูปมีกสิณอันบัณฑิตกำหนดแล้วด้วยสีเขียวอันเป็นไปทับซึ่งตนเป็นต้น.
  10. อชฺฌาสย : (ปุ.) ฉันทะมานอนทับซึ่งตน, ฉันทะเป็นที่มานอนทับ, ฉันทะเป็นที่มานอนทับแห่งจิตอันยิ่ง, สภาพอันอาศัยซึ่งอารมณ์เป็นไป, สภาพที่จิตอาศัย, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความจุใจ, ความเอาใจใส่, ความประสงค์, ความนิยม, อัชฌาสัย, อัธยาศัย (นิสัยใจคอ).วิ.จิตฺตมชฺฌาคนฺตฺวาสยตีติอชฺฌาสโย.อธิอาปุพฺโพ, สิปวตฺติยํ, อ.คำอัชฌาในวรรณคดี ตัดมาจากคำนี้.ส.อธฺยาศย.
  11. อชฺโฌสาย : ค. ซึ่งผูกติด, ซึ่งห้อย
  12. อชฺโฌหรณีย : ค. ซึ่งควรแก่การกลืนกิน, ควรกิน
  13. อชาตสตฺตุ : (ปุ.) พระเจ้าอชาตศัตรู พระนามพระเจ้าแผ่นดินมคธซึ่งเป็นพระราชโฮรสของพระเจ้าพิมพิสาร.ส. อชาตศตฺรุพระอินทร์พระศิวะ.
  14. อญฺชลิกรณียอญฺชลีกรณีบ : (วิ.) (สงฆ์)ผู้มีอัญชลึอันบุคคลพึงทำ.วิ. อญฺชลิกรณิโยยสฺส โส อญฺชลิกรณิโย. ฉ.ตุลอญฺชลิกรณิโย ยสฺมึ โส อญฺชลิกรณีโย.ส. ตุล. ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลกพึงทำ, ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ.วิ. อญฺชลิกมฺมํกรณํอญฺชลิกรณํ, กตฺตพฺพํอญฺชลิกรณํอรหตีติอญฺชลิกรณิโย.อียปัจ.ฐานตัท.ผู้ควรแก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกพึงกระทำ, ผู้ควรแก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ.วิ. กตฺตพฺพสฺสอญฺชลิกรณสฺสอรหตีติอญฺชลิกรณิโย.เป็นผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำวิ. กตฺตพฺพสฺสอญฺชลิกรณสฺส อนุจฺฉวิโกโหตีติอญฺชลิกรณิโย. แปลว่า เป็นผู้ควรแก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำโดยไม่หักวิภัติก็ได้. พระไตรปิฏกเป็นอญฺชลิกรณีโยแต่ในสังฆคุณที่ใช้ในบทสวดมนต์เป็นอญฺชลีกรณิโยพึงสวดให้ถูกต้องด้วย.
  15. อญฺชลิกรณีย อญฺชลีกรณีบ : (วิ.) (สงฆ์) ผู้มีอัญชลึอันบุคคลพึงทำ. วิ. อญฺชลิ กรณิโย ยสฺส โส อญฺชลิกรณิโย. ฉ.ตุล อญฺชลิกรณิโย ยสฺมึ โส อญฺชลิกรณีโย. ส. ตุล. ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลก พึงทำ, ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลก ทำ. วิ. อญฺชลิกมฺมํ กรณํ อญฺชลิกรณํ, กตฺตพฺพํ อญฺชลิกรณํ อรหตีติ อญฺชลิ กรณิโย. อียปัจ. ฐานตัท. ผู้ควรแก่อัญ ชลีกรรมอันสัตว์โลกพึงกระทำ, ผู้ควร แก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ. วิ. กตฺตพฺพสฺส อญฺชลิกรณสฺส อรหตีติ อญฺชลิกรณิโย. เป็นผู้ควรซึ่งอัญชลี กรรมอันสัตว์โลกทำ วิ. กตฺตพฺพสฺส อญฺชลิกรณสฺส อนุจฺฉวิโกโหตีติ อญฺชลิกรณิโย. แปลว่า เป็นผู้ควรแก่ อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ โดยไม่หัก วิภัติก็ได้. พระไตรปิฏกเป็น อญฺชลิกรณี โย แต่ในสังฆคุณที่ใช้ในบทสวดมนต์ เป็น อญฺชลีกรณิโย พึงสวดให้ถูกต้อง ด้วย.
  16. อญฺญมญฺญ : (วิ.) กันและกัน.วิ. อญฺญํอญฺญอญฺญมญฺญํ.ํมฺอาคมไทยใช้เป็นภาษาพูดว่าอัญญมัญญังในความหมายว่า ซึ่งกันและกัน.
  17. อญฺญมญฺญ : ก.วิ. ซึ่งกันและกัน
  18. อญฺญมญฺญปจฺจย : (วิ.) เป็นเครื่องสนับสนุนที่อิงอาศัยซึ่งกันและกันคือเวทนาสัญญาสังขารและวิญญาณ.
  19. อญฺญมญฺญู : ค. ซึ่งกันและกัน
  20. อญฺญวิหิต : ค. ซึ่งส่งใจไปไว้ในอารมณ์อื่น, มีจิตใจไขว้เขว
  21. อญฺญสตฺถุทฺเทส : (ปุ.) การยกขึ้นซึ่งศาสนาอื่น, การเข้ารีดศาสนาอื่น.
  22. อญฺญาตก : ค. ซึ่งไม่ใช่ญาติ, ซึ่งไม่มีใครรู้จัก
  23. อญฺโญญ : (วิ.) กันและกัน.อญฺญ+อญฺญลบ อที่สุดของศัพท์หน้าแปลง อเบื้องต้นของศัพท์หลังเป็นโอ.
  24. อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยาก ให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี). วิ. อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺฐกถา. อตฺถปุพฺ โพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
  25. อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยากให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี).วิ.อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺกถา. อตฺถปุพฺโพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
  26. อฏฺฐงฺคต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ตกไปแล้ว.ส.อศฺตมฺคต.
  27. อฏฺฐงฺคต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ตก ไปแล้ว. ส. อศฺตมฺคต.
  28. อฏฺฐงฺคม : (ปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  29. อฏฺฐงฺคม : (ปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  30. อฏฺฐงฺคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  31. อฏฺฐงฺคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  32. อฏฺฐมงฺคล : (นปุ.) มงคลแปด, มงคลแปด คือ กรอบหน้าคธาสังข์จักรธงขอช้างโคเผือกและหม้อน้ำ.
  33. อฏฺฐมงฺคล : (นปุ.) มงคลแปด, มงคลแปด คือ กรอบหน้า คธา สังข์ จักร ธง ขอ ช้าง โคเผือก และ หม้อน้ำ.
  34. อฑฺฒกุสิ : (นปุ.) อัฑฒกุสิชื่อเส้นคั่นดุจคันนาขวางของกระทงจีวรซึ่งอยู่ระหว่างมณฑล กับ อัฑฒมณฑล.
  35. อฑฺฒรตฺต : (ปุ. นปุ.) เที่ยงคืน, เวลาเที่ยงคืน, ครึ่งคืน, กึ่งราตรี.วิ.รตฺติยาอฑฺฒํอฑฺฒรตฺโต.อฑฺฒญฺจตํรตฺติจาติวาอฑฺฒรตฺโต.รตฺติยาวาอฑฺฒํอฑฺฒรตฺตํ.วิปริยโย(กลับบทหน้าไว้หลัง).
  36. อฑฺฒ อทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค. เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ. ถ้า หมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ. อสุเขปเน, โต. แปลง ต เป็น ฑฺฒ ลบที่สุดธาตุ คำหลัง ดู อทฺธ ข้างหน้า. ส. อรฺทฺธ อรฺธ.
  37. อณฺฑหารอณฺฑหารก : (ปุ.) คนผู้นำไปซึ่งอัณฑะ, คนผู้ทำหน้าที่ตอน, หมอตอน.
  38. อณฺฑหาร อณฺฑหารก : (ปุ.) คนผู้นำไปซึ่ง อัณฑะ, คนผู้ทำหน้าที่ตอน, หมอตอน.
  39. อณฺหิส : ป., นป. อุณหิส, กรอบหน้ามงกุฎ, ผ้าโพกศีรษะ; ส่วนของบันได, ยอดบันได
  40. อณุสหคต : ค. ซึ่งประกอบด้วยส่วนละเอียดที่สุด
  41. อตฺตภาว : (ปุ.) ขันธปัญจกเป็นแดนเกิดแห่งอัสมิมานะว่าอันว่าตน, กายอันเป็นแดนเกิดแห่งนนามว่าอันว่าตน, ความเป็นแห่งตน, กาย, ร่างกาย, รูป, อัตภาพ (ลักษณะความเป็นตัวตน), อาตมภาพ (อาดตะมะภาพ)เป็นคำพูดแทนตัวพระสงฆ์ซึ่งใช้พูดกับผู้มีศักดิ์, อาตมา (อาดตะมา)เป็นคำแทนตัวพระสงฆ์ตรงกับคำว่าฉันข้าพเจ้าใช้พูดกับคนทั่วไปทั้งชายและหญิง. ส. อาตฺมภาว.
  42. อตฺตวินิปาต : (ปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือวิเศษซึ่งตน, การยังตนให้ตกไป, การทำลายซึ่งตน, การฆ่าตัวตาย.
  43. อตฺตวินิปาตกมฺม : (นปุ.) การยังตนให้ตกไปโดยไม่เหลือวิเศษกรรมคือการทำลายซึ่งตน, การฆ่าตัวตาย, อัตวินิบาตกรรม.
  44. อตฺตสมฺมาปณิธิ : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งตนโดย-ชอบ, ความตั้งไว้ซึ่งตนโดยชอบ, การตั้งตนไว้ชอบ. วิ. อตฺตโน สมฺมา ปณิธิ อตฺตสมฺมา ปณิธิ. คนไม่มีศิล ได้รับคำสอนแล้วทำตนให้มีศิล คนไม่มีศรัทธาทำตนให้มีศรัทธาคนมีความตระหนี่ทำตนให้ถึงพร้อมด้วยการบริจาคหรือตั้งตนไว้ในกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการชื่อว่า การตั้งตนไว้ชอบ.
  45. อตฺตาณ : ค. ซึ่งปราศจากที่ต้านทาน, ไม่มีที่พึ่ง
  46. อตฺถกฺขายี : (ปุ.) มิตรผู้บอกซึ่งประโยชน์โดยปกติ, มิตรมีปกติบอกซี่งประโยชน์, มิตรแนะประโยชน์.
  47. อตฺถกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องอัน.....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความคำอธิบายซึ่งเนื้อความ, ถ้อยคำแก้อรรถ, อรรถกถาชื่อคัมภีร์ที่ท่านแต่งแก้เนื้อความแห่งพระบาลีพุทธพจน์ที่เข้าใจยากให้ง่ายขึ้น
  48. อตฺถคติ : (อิต.) อันถึงซึ่งเนื้อความ, อรรถคดี(เรื่องที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล).
  49. อตฺถคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งพระนิพพาน, การบรรลุพระนิพพาน.
  50. อตฺถคมน อตฺถงฺคมน : (นปุ.) การถึงอันซึ่งตั้งอยู่ไม่ได้, ฯลฯ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | [1201-1250] | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1636

(0.0860 sec)