Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ซึ่งหน้า, หน้า, ซึ่ง , then ซง, ซงหนา, ซึ่ง, ซึ่งหน้า, หนา, หน้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ซึ่งหน้า, 1636 found, display 1251-1300
  1. อตฺถคม อตฺถงฺคม : (ปุ.) การถึงอันซึ่งตั้งอยู่ไม่ได้, ฯลฯ.
  2. อตฺถงฺคต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ตกดิน(พระอาทิตย์ตกดิน).
  3. อตฺถญฺญู : (วิ.) ผู้รู้ซึ่งอรรถ, ผู้รู้ซื่งผล, ผู้รู้จักผล.
  4. อตฺถทสฺสี : (วิ.) ผู้มองเห็นซึ่งประโยชน์, ผู้มองเห็นประโยชน์, ฯลฯ.
  5. อตฺถวณฺณนา : (อิต.) วาทะเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความ, กถาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนี้อความ, อรรถกถา.
  6. อตฺถาธิปาย : (ปุ.) การอธิบายซึ่งอรรถ, อธิบายซึ่งอรรถ, อัตถาธิบาย (การขยายความ).
  7. อตฺรช : ๑. ป. บุตร, ผู้เกิดจากตน; ๒. ค. ซึ่งเกิดจากตน
  8. อติตุล : ค. ซึ่งเทียบไม่ได้, ซึ่งชั่งไม่ได้
  9. อติภาริต, อติภาริย : ค. ซึ่งหนักมาก
  10. อติเรก : (วิ.) อันหนึ่งเกิน, ยิ่งกว่าหนึ่ง, เหลือเกิน, ยิ่งเกิน, เกินกว่าหนึ่ง, พิเศษ.วิ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ. เอก+อติ กลับบทหน้าไว้หลัง รฺ อาคม. ส. อติเรก.
  11. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  12. อติเวลา : (อิต.) เวลาอันเป็นไปล่วงซึ่งเวลา, เวลายิ่ง, เวลาเกิน.วิ.เวลํอติกฺกมิตฺวาปวตฺตนาเวลาอติเวลา.
  13. อตีรทสฺสี : ค. ซึ่งมองไม่เห็นฝั่ง
  14. อทฺธ : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งทรัพย์, ผู้มั่งคั่ง.
  15. อทฺธคต : (วิ.) ผู้ไปแล้วสู่ทางไกล, ผู้ถึงแล้วซึ่งกาลยืดยาว คือผู้ที่ผ่านทางไกล หรือผ่านกาลยืดยาวคือมีชีวิตอยู่มานานผู้ถึงวัยทั้งสามผู้ผ่านวัยทั้งสาม, ผู้เฒ่า.
  16. อทินฺนาทาน : (นปุ.) การถือเอาซึ่งสิ่งของอันเจ้าของไม่ให้แล้ว, การถือเอาซึ่งสิ่งอันเจ้าของไม่ได้ให้แล้ว, การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แก่ตน, อทินนาทาน (การลักทรัพย์การขโมย).วิ.อทินฺนสฺสอาทานํอทินฺนาทานํ.อถวา, อทินฺนํอาทียนฺติเอเตนาติอทินฺนาทานํ.
  17. อทิสฺสมาน : ค. ไม่ปรากฏ, ซึ่งมองไม่เห็น
  18. อทูสก : ค. ซึ่งไม่ประทุษร้าย
  19. อธมณฺณ : (ปุ.) ลูกหนี้.วิ.อิเณอธโมอธมณฺ-โณ.เอา อิ ที่ อิณ เป็น อ ได้รูปเป็นอณ แปลง ณ เป็นณฺณ.แล้วเปลี่ยนบทหน้าไว้หลัง.ส.อธรฺมณ
  20. อธมฺมวาที : (วิ.) ผู้มีปกติกล่าวซึ่งคำไม่ถูกต้อง, ผู้มีปกติกล่าวไม่เที่ยงตรง, ผู้พูดไม่เป็นธรรม
  21. อธิกรณ : (นปุ.) การทำยิ่ง, โทษชาตเป็นเครื่องทำยิ่ง, โทษ, คดี, เหตุ, เรื่อง, เรื่องราว, อธิกรณะเป็นคำเรียกบทที่ประกอบสัตมีวิ-ภัติ, อธิกรณ์ คือข้อพิพาท หรือที่ถกเถียงกันเมื่อเกิดขึ้นแล้วต้องทำ ต้องระงับ.อธิบทหน้ากรฺธาตุยุปัจ.ส.อธิกรณ.
  22. อธิการ : (ปุ.) คุณอันบุคคลพึงกระทำยิ่ง, คุณวิ-เศษเครื่องทำยิ่ง. ภาระ, หน้าที่, การปกครอง, การบังคับบัญชา, เรียกเจ้าอาวาสซึ่งมิได้เป็นเจ้าคณะว่าพระอธิการเรียก ผู้อำนวยการวิทยาลัยว่าอธิการถ้าเป็นมหาวิทยาลัยเรียกว่าอธิการบดี.ส. อธิการ.
  23. อธิจิตฺต : (นปุ.) ธรรมชาติอันอาศัยซึ่งจิตเป็นไป(จิตฺตสฺส อธิกจฺจ ปวตฺตนํ), จิตยิ่ง, อธิกจิตหมายถึงจิตที่ได้สมาธิถึงขั้นฌาน.วิ.อธิกํจิตฺตํอธิจิตตํ.
  24. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตนปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่นหมาย, ความจงใจ)คำพิษฐานนี้เลือนมาจากอธิษฐาน.ส.อธิษฺฐาน.
  25. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณ ชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตน ปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่น หมาย, ความจงใจ) คำพิษฐาน นี้เลือนมา จาก อธิษฐาน. ส. อธิษฺฐาน.
  26. อธิฏฺฐายก : ๑. ป. ผู้ดูแล, ผู้รักษา; ๒. ค. ซึ่งดูแล, ซึ่งรักษา
  27. อธิปญฺญา : (อิต.) คุณชาติอันอาศัยซึ่งปัญญาเป็นไป, คุณชาติอันเป็นไปอาศัยซึ่งปัญญา, ปัญญายิ่ง, ปัญญาอย่างสูง, อธิปัญญา.ชื่อของปัญญามีกำลังกำจัดกิเลสได้เด็ดขาดได้แก่มัคคปัญญา.
  28. อธิปญฺา : (อิต.) คุณชาติอันอาศัยซึ่งปัญญาเป็น ไป, คุณชาติอันเป็นไปอาศัยซึ่งปัญญา, ปัญ ญายิ่ง, ปัญญาอย่างสูง, อธิปัญญา. ชื่อของ ปัญญามีกำลังกำจัดกิเลสได้เด็ดขาด ได้แก่ มัคคปัญญา.
  29. อธิปายอธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่งจิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประสงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็นการอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ.อธิปยติจินฺเตตีติอธิปฺปาโย.อธิปียเตติวาอธิปฺปาโย.อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ.อิวาคมเน, โณ, ปฺอาคโม.อถวา, โยอตฺโถปณฺฑิเตนอธิปียเตโสอตฺโถอธิปฺปาโย.ส. อภิปฺราย
  30. อธิปาย อธิปฺปาย : (ปุ.) สภาพเป็นที่อาศัยแห่ง จิต, สภาพผู้อาศัยซึ่งจิตนอนอยู่, ความประ สงค์, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความเป็นใหญ่, การออกความเห็น การอธิบาย (ขยายความชี้แจง), วิ. อธิปยติ จินฺเตตีติ อธิปฺปาโย. อธิปียเตติ วา อธิปฺปา โย. อธิปุพฺโพ, ปยฺคมเน, โณ. อิ วา คมเน, โณ, ปฺอาคโม. อถวา, โย อตฺโถ ปณฺฑิเตน อธิปียเต โส อตฺโถ อธิปฺปาโย. ส. อภิปฺราย
  31. อธิสีล : (นปุ.) คุณชาตอันอาศัยซึ่งศีลเป็นไป, คุณชาตอันเป็นไปอาศัยซึ่งศีล, (สีลสฺสอธิ-กิจฺจปวตฺตนํ)ศีลยิ่ง, ศีลอย่างสูงคือการรักษาอย่างประณีต.วิ.อธิกํสีลํอธิสีลํ.ส.อธิศีล.
  32. อโธ : (อัพ. นิบาต) เบื้องต่ำ, ข้างล่าง, เบื้องล่าง, เป็นเหฎฐาตถวาจกนิบาต.รูปฯว่าลงในอรรถสัตมีแปลว่าในเบื้องต่ำ, ฯลฯ.อโธเมื่อใช้เกี่ยวกับอักขระแปลว่าเอาพญัชนะไว้หน้าสระ.
  33. อโธมุข : (วิ.) มีหน้าในเบื้องต่ำ, ก้มหน้า.
  34. อนฺตก : (วิ.) ผู้ทำซึ่งที่สุด.วิ.อนฺตํกโรตีติอนฺตโก.กฺวิ ปัจ. อภิฯและ รูปฯ ลงร ปัจ
  35. อนฺตกร : (ปุ.) ชนผู้กระทำซึ่งที่สุดคือช่วยให้รอดฝั่ง.
  36. อนฺตกิริยา : (อิต.) การทำซึ่งที่สุด.
  37. อนฺตคฺคต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งที่สุด.ซ้อนคฺ.
  38. อนฺตคู : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งที่สุด, ผู้ชนะความทุกข์.
  39. อนตฺตลกฺขณสุตฺต : (นปุ.) อนัตลักขณะสูตรชื่อพระสูตรซึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระเบญจวรรคึย์.
  40. อนตฺถ : (วิ.) อันตั้งอยู่ไม่ได้, เสื่อม.น. อาบทหน้าถาธาตุในความตั้งอยู่อปัจ.รัสสะอาเป็นอ.แปลงนเป็นอนซ้อนต.
  41. อนตฺถงฺคต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, อัษฎงคตแล้ว, อัสดงคตแล้ว.
  42. อนฺตรธาน : (นปุ.) การปิด, การกำบัง, การตั้ง-อยู่ในที่อื่น, การหายไป, การสูญ, การสูญหายไป (หายลับไ), ความสูญ, ความสูญหายไป, อนฺตรหรืออนฺตรํบทหน้าธาธาตุ ยุปัจ.ถ้าใช้อนฺตรํเป็นบทหน้าลบนิคคหิต.
  43. อนฺตราย : (ปุ.) ธรรมอันมาในระหว่าง, สภาพเป็นเครื่องเป็นไปในระหว่าง, ความฉิบหายอันมาในระหว่าง, การอุบาทว์, ความขัดข้อง, อันตราย (เหตุที่ทำให้ถึงความแตกดับ)วิ.จตุปฏิสนฺธีนมนฺตเรอายตีติอนฺตราโย.อนฺตรํวฺยวธานํอายติคจฺฉตีติวาอนฺตรา-โย.อนฺตราเวมชฺเฌอายนฺตีติวาอนฺตรา-โย.สมฺปตฺติยาวิพนฺธนวเสนสตฺตสนฺตา-นสฺสอนฺตเรเวมชฺเฌเอติอาคจฺฉตีติวาอนฺตราโย.อนฺตราบทหน้าอิ ธาตุ อ ปัจ.ส. อนฺตราย.
  44. อนฺตรายิกธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นอันตราย, ธรรมอันทำซึ่งอันตราย, เหตุเครื่องขัดข้องต่าง, เหตุขัดข้องต่าง ๆ, ความขัดข้องต่าง ๆอันตรายิกธรรม
  45. อนฺตลิกฺข : (ปุ.) อากาศเป็นที่เห็นซึ่งรูปในระ-หว่าง, อากาศ, กลางหาว, ประเทศมีรูปอันใคร ๆ พึงเห็นในระหว่าง.ส. อนฺตริกฺษ.
  46. อนฺติมวตฺถุ : (นปุ.) วัตถุอันมีในที่สุด, อันติมวัตถุชื่อของการต้องอาบัติมีโทษถึงที่สุดคือการต้องอาบัติปาราชิกซึ่งขาดจากความเป็นภิกษุ.
  47. อนฺโตคต, อนฺโตคธ : ค. ซึ่งอยู่ภายใน
  48. อนฺธการ : (ปุ.) กาลผู้กระทำซึ่งมืด, สภาพผู้กระทำซึ่งมืด, ความมืดทำซึ่งความเป็นผู้บอด, ความมืด, ความมืดมัว, ความเขลา, วิ.อนฺธํหตทิฎฺฐิสตฺติกํโลกํกโรตีติอนฺธกาโร.ส. อนฺธการ.
  49. อนนุรูป : (นปุ.) กรรมไม่เป็นไปตามซึ่งรูป.
  50. อนยพฺยสน : (นปุ.) ความฉิบหายไม่ใช่ความเจริญและทุกข์อันส่ายเสียซึ่งสุขให้พินาศ, ความไม่เจริญและความทุกข์อันยังสุขให้พินาศ. วิ. อนโย จ พฺยสนํ จาติ อนยพฺสนํ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | [1251-1300] | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1636

(0.0940 sec)