Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ซึ่งหน้า, หน้า, ซึ่ง , then ซง, ซงหนา, ซึ่ง, ซึ่งหน้า, หนา, หน้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ซึ่งหน้า, 1636 found, display 1501-1550
  1. อิม : (ไตรลิงค์) นี้. อยํ ซึ่งสำเร็จรูปมาจาก อิมศัพท์ แปลว่า “ดังต่อไปนี้” ได้ในบาง กรณีย์. ส. อิทมฺ.
  2. อิลาตล : นป. พื้นโลก, หน้าดิน
  3. อิสธร อิสินฺธร : (ปุ.) อิสธร อิสินธร ชื่อภูเขา ลูกหนึ่งใน ๗ ลูก ซึ่งเป็นบริวารของเขา สุเมรุ อภิฯ และ ฎีกอภิฯ เป็น อีสธร.
  4. อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
  5. อิสิคิล : (ปุ.) ภูเขาผู้กลืนกินซึ่งฤาษี, ภูเขา อิสิคิลิ. วิ. อิสโย คิลตีติ อิสิคิลิ. อิสิปุพฺโพ, คิลฺ อชฺโฌหรเณ, อิ.
  6. อีติ : (อิต.) ธรรมชาติมาเพื่อความฉิบหาย, เสนียด, จัญไร, อุบาทว์, อันตราย. วิ. อนตฺถาย เอตีติ อีติ. อิ คมเน, ติ, ทีโฆ. แปลง ติ เป็น ทิ เป็น เอทิ บ้าง. ศัพท์กิริยา เอติ แปลว่า ย่อมมา มาจาก อาบทหน้า อิ ธาตุ ติ วิภัติ.
  7. อีทิส อีทิกฺข อีริส อีริกฺข อีที : (วิ.) เช่นนี้ วิ. อิมมิว นํ ปสฺสตีติ อีทิโส (เห็นซึ่ง บุคคลนั้นราวกะว่าบุคคลนี้). อิม ศัพท์ ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบ ม แล้วทีฆะหรือแปลง อิม เป็น อิ แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี กัจฯ ๖๔๒ รูปฯ ๕๗๒.
  8. อุ : อ. เป็นอุปสรรค ใช้ต่อหน้าศัพท์มีความหมายว่า ขึ้น, นอก, เหนือ, บน
  9. อุกฺกฏฺฐา : (อิต.) อุกกัฏฐา ชื่อนคร ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ. อุกฺก บทหน้า ธรฺ ธาตุ อ ปัจ. แปลง ธรฺ เป็น ฐ ซ้อน ฏฺ. อุกฺกฏฺฐิ
  10. อุกฺโกฏนก : ค. ซึ่งไม่เที่ยงธรรม
  11. อุกฺขลิมสิ : (นปุ.) เขม่าที่ก้นหม้อ, ดินหม้อ (ละอองดำ ๆ ซึ่งเกิดจากควันไฟที่หุงข้าว ด้วยฟืนติดอยู่ที่ก้นหม้อ).
  12. อุคฺคตฺถน : (นปุ.) เครื่องประดับทรวง. วิ. คาวีนํ ถนาการตฺตา คตฺถนํ. โอสฺสตฺตํ (แปลง โอ แห่ง โค ศัพท์ เป็น อ). ต เมว อุตฺตมตฺตา อุคฺคตฺถนํ. แปลว่า เครื่อง ประดับหน้า, เครื่องประดับหน้าผาก, เครื่องประดับไหล่ บ้าง.
  13. อุคฺฆติตญฺญู : (วิ.) ผู้รู้ซึ่งธรรมอันท่านยกหัวข้อขึ้น แสดงแล้ว, ผู้รู้ธรรมพอท่านยกหัวข้อขึ้นแสดง, อุคฆติตัญญู (พอท่านยกหัวข้อขึ้นแสดงก็เข้าใจ แล้ว).
  14. อุณฺณต : (นปุ.) เครื่องประดับหน้าผาก. อุปุพฺโพ, นมุ นมเน, โต. ลบที่สุดธาตุ แปลง น เป็น ณ ซ้อน ณฺ เป็น อุนฺนต บ้าง. ฏีกาอภิฯ แก้เป็น สุวณฺณาทิรจิตํ นลาฏา ภรณํ.
  15. อุณฺหีส : (ปุ. นปุ.) เครื่องประดับหน้า, วงหน้า, กรอบหน้า, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฏอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า), มงกุฎ พระมงกุฎ ชื่อเครื่องราชกกุธภัณฑ์อย่างที่ ๑ ใน ๕ อย่าง ; ผ้าโพก, หัวบันได, ราว บันได. อุปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, อีโส, วณฺณวิกาโร (เปลี่ยนอักษรคือ แปลง น เป็น ณ). เป็น อุณฺหิส บ้าง. ส. อุษฺณีษ.
  16. อุตฺตมณ อุตฺตมิณ : (ปุ.) เจ้าหนี้ (ผู้ให้ยืม). วิ. อิเณ อุตฺตโม อุตฺตมโณ อุตฺตมิโณ วา. เปลี่ยนศัพท์ คือเอา อุตฺตม ไว้หน้า ศัพท์ หน้าลบ อิ ที่ อิณ ศัพท์หลังไม่ลบ.
  17. อุตฺตรสาธก : ค. ซึ่งช่วยเหลือ, เป็นเพื่อน
  18. อุตฺตราภิมุข : ค. มีหน้าไปทางเหนือ, มุ่งหน้าไปสู่ทิศอุดร
  19. อุตฺตราสค อุตฺตราสงฺค : (ปุ.) ผ้าอันคล้องอยู่ เหนืออวัยวะด้านซ้าย, ผ้าอันคล้องอยู่ที่ ส่วนแห่งกายด้านซ้าย, ผ้าคล้องไว้บนบ่า เบื้องซ้าย, ผ้าห่ม (คือจีวรในภาษาไทย). วิ. อุตฺตรสฺมึ เทหภาเค อาสชฺชเตติ อุตฺตราสํโค อุตฺตราสงฺโค วา. อุตฺตร อา บทหน้า สญฺชฺ ธาตุในความคล้อง อ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็นนิคคหิต ศัพท์ หลังแปลงนิคคหิตเป็น งฺ.
  20. อุตฺตริภงฺค : (ปุ.) แกงอันหักเสียซึ่งรสอันยิ่ง, แกงมีรสอร่อย, แกงอันมีรสต่าง ๆ, แกง อ่อม, ต้มยำ.
  21. อุทกทนฺตโปณ : นป. น้ำสำหรับล้างหน้าและปากและไม้ถูฟัน
  22. อุทญฺจนี : ค. ซึ่งนำน้ำไป, ระบายน้ำ
  23. อุทฺทก : (ปุ.) อุททกดาบส ชื่อดาบสซึ่ง พระมหาบุรุษ เสด็จเข้าไปศึกษาลัทธิตอน ผนวชใหม่ ๆ และทรงได้อรูปฌานที่ ๔ จากสำนักนี้.
  24. อุทฺธก : (ปุ.) อุทธกะ ชื่อกลองชนิดหนึ่ง, กลองหน้าเดียว. วิ. อุทฺธํ กายติ สทฺทายตีติ อุทฺธโก. อุคฺคจฺฉตีติ วา อุทฺธโก. อุปุพฺโพ, คมฺ คติยํ. โก, คมสฺส โธ.
  25. อุทฺธจฺจ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน, ความคิดพล่าน, อุทธัจจะ (ความคิดพล่านไปในอารมณ์ ต่าง ๆ อย่างเผลอตัว). วิ. อุทฺธํ หนตีติ อุทฺธโต. อุทิธํปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, โต, หนสฺส โธ (แปลง หน เป็น ธ), อสรูปทฺวิตตํ (แปลง ธ เป็น ทฺธ และ ลบ ทฺธํ ที่บทหน้า). อุทฺธตสฺส ภาโว อุทฺธจฺจํ. ณฺย ปัจ. กัจฯ และ รูปฯ ลง ย ปัจ.
  26. อุทฺธภาคิย : ค. ซึ่งอยู่ส่วนบน, เป็นส่วนเบื้องสูง
  27. อุทยตฺถคามินี : ค. ซึ่งเกิดขึ้นและเสื่อมไป
  28. อุทหารก : (วิ.) ผู้ขุดร่องน้ำ, ผู้นำน้ำไป, ผู้นำ น้ำไปด้วยเหมือง. อุทกปุพฺโพ, อุทปุพฺโพ วา, หรฺ หรเณ, ณฺวุ. ถ้าตั้งอุทก เป็น บทหน้า พึงลบ ก.
  29. อุทาสีน : (วิ.) เป็นกลาง (ไม่เข้าข้างฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง), นั่งอยู่นอกพวก, นั่งนอกพวก. อุ อา บทหน้า สี ธาตุ อาน ปัจ. แปลง อาน เป็น อีน. ส. อุทาสีน.
  30. อุปกรณ : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งความอุดหนุน, การอุดหนุน, การเกื้อกูล, การช่วยเหลือ, การส่งเสริม, ความอุดหนุน, ฯลฯ, เครื่องมือ, เครื่องใช้. อุปปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ยุ. ส. อุปกรณ.
  31. อุปการ : (ปุ.) คุณเครื่องทำซึ่งความอุดหนุน, การอุดหนุน, ฯลฯ (ดู อุปกรณ)ความอุดหนุน, ฯลฯ, ประโยชน์, อุปการะ. วิ. อุปคนฺตฺวา กโรตีติ อุปกาโร. ณ ปัจ. ส. อุปการ.
  32. อุปการิก : (วิ.) ผู้มีคุณเครื่องทำซึ่งการ อุดหนุน, ฯลฯ.
  33. อุปคุยฺห : (ปุ.) ราชพาหนะหลวง. อุป+คุหฺ สํวรเณ, ยปจฺจโย, ยกฺปจฺจโย วา. เปลี่ยน ย ไว้หน้า ห.
  34. อุปจฺเฉทก : ค. ผู้เข้าไปตัด, ผู้เข้าไปทำลาย, ซึ่งหยุดชะงัก
  35. อุปชฺช : (ปุ.) ภพอันสัตว์เข้าถึงไม่มีระหว่างคั่น, ภพที่สอง, ภพหน้า. อุปปพฺโพ, ปทฺ คติยํ, อ. แปลง ท เป็น ช แล้วแปลงเป็น ชฺช.
  36. อุปนฺติ : ก. วิ. ในที่ใกล้, ในที่เฉพาะหน้า
  37. อุปนิสฺสย : (ปุ.) ธรรมเป็นที่เข้าไปอาศัย, ธรรมเป็นอุปนิสัย, ฉันทะเป็นที่เข้าไป อาศัย, อุปนิสสัย อุปนิสัย คือความประพฤติเคยชิน เป็นพื้นมาแต่อดีตชาติ คุณ ความดีที่ฝังอยู่ใน สันดาน ซึ่งจะเป็นฐาน รองรับผลดียิ่ง ๆ ขึ้นไป หรือแววของจิต. ในอภิธรรม หมายเอา คุณความดีอย่างเดียว ส่วนคำนิสสัย นิสัย หมายเอาทั้งทางดีทางชั่ว. อุป นิ ปุพฺโพ, สิ สี วา สเย, อ.
  38. อุปปชฺชเวทนียกมฺม : นป. กรรมที่ให้ผลในชาติหน้า
  39. อุปฺปีฬ : ค. อันเบียดเบียน, ซึ่งกดขี่
  40. อุปปีฬก : ค. ซึ่งกดขี่, ซึ่งเบียดเบียน, ซึ่งบีบคั้น
  41. อุปปีฬกกมฺม : (นปุ.) กรรมบีบคั้น, กรรม เบียดเบียนกรรมอื่น ๆ (ได้แก่ อกุศลกรรม ๑๒ มหากุศลกรรม ๘), อุปปีฬกกรรม (กรรมที่เบียดเบียนชนกกรรมซึ่งให้ผลอยู่ แล้วให้มีกำลังลดลง กรรมที่เบียดเบียนรูป นามซึ่งเกิดจากชนกกรรมให้มีกำลังลดลง).
  42. อุปวน : (นปุ.) สวน, สวนใหญ่, สวนดอกไม้. วิ. อุปคตํ อุปโรปิตํ วา วนํ อุปวนํ. ป่า ใกล้, ป่าใกล้เคียง. วิ. สมีปํ วนํ อุปวนํ. วิ. ใช้ สมีป แทน อุป. ที่ใกล้แห่งป่า วิ. วนสฺส สมีปํ อุปวนํ. กลับบทหน้าไว้หลัง.
  43. อุปสคฺค : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปข้องอยู่, อันตรายเข้าไปขัดข้องอยู่, อันตรายเข้าไป ขัดข้อง, อันตรายเครื่องขัดข้อง, อันตราย เครื่องขัดขวาง, สิ่งที่เข้าไปขัดข้อง, สิ่งที่ เข้าไปขัดขวาง, สิ่งที่กีดขวาง, อันตราย, จัญไร (ความเป็นเสนียด). วิ. อุปคนฺตวา สชติ ปกาเสตีติ อุปสคฺโค. อุปปุพฺ โพ, สชฺ วิสชฺชนาทีสุ, โณ. ไวยากรณ์เรียกคำ ชนิดหนึ่งสำหรับ นำหน้านามและกิริยาให้วิเศษขึ้น มี อติ เป็นต้น ว่า อุปสรรค. ส. อุปสรฺค.
  44. อุปสิงฺฆก : ค. ซึ่งสูด, ซึ่งดม
  45. อุปสึสก : ค. อันหวัง, ซึ่งกระเสือกกระสน
  46. อุพฺพฏม : ค. ซึ่งไปผิดทาง, เดินผิดทาง
  47. อุพฺภฏฐก : ค. ซึ่งตั้งตรง
  48. อุมฺมาทน : ค. ซึ่งเป็นบ้า
  49. อุมฺมุชฺชมานก : ค. ซึ่งโผล่ขึ้น, ซึ่งผุดขึ้น
  50. อุมฺมูล : ค. ซึ่งถูกถอนราก
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | [1501-1550] | 1551-1600 | 1601-1636

(0.0889 sec)