Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ซึ่งหน้า, หน้า, ซึ่ง , then ซง, ซงหนา, ซึ่ง, ซึ่งหน้า, หนา, หน้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ซึ่งหน้า, 1636 found, display 1551-1600
  1. อุยฺยาม : (ปุ.) ความเพียร, ความหมั่น, ความพยายาม, ความขยัน, ความขยันขันแข็ง, การตั้งหน้าทำ. วิ. อุทฺธํ ยนฺติ เยน โส อุยฺยาโม. อุทฺธํปุพฺโพ, ยา คมเน, โม. ส. อุทฺยาม.
  2. อุยฺยุต : ค. ซึ่งประกอบความเพียร, มีความพยายาม
  3. อุสภ : (วิ.) องอาจ, เจริญ, ยิ่ง, เลิศ, ล้ำเลิศ, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด, ผู้ เป็นคำ วิเสสนะ บอกว่าเป็นเพศชาย ที่ใช้คู่กับคำ ว่า เมีย ซึ่งเป็นคำวิเสสนะ บอกว่าเป็นเพศ หญิง. ส. ฤสภ.
  4. อุสภาชาเนยฺย : (ปุ.) โคผู้รู้ซึ่งเหตุและภาวะมิ ใช่เหตุโดยยิ่ง, โคผู้ ผู้อาจในอันรู้ซึ่งกิจ โดยพลัน, โคผู้อาชาไนย (ผู้ได้รับการฝึก มาดีแล้วรู้เหตุและภาวะมิใช่เหตุได้รวดเร็ว).
  5. อุสฺสว : (ปุ.) มหรสพเป็นที่คายเสียซึ่งความเร่าร้อน. วิ. อุสํ วมนฺติ อุคฺคิรนฺติ อตฺราติ อุสฺสโว. อุสปุพฺโพ, วมุ อุคฺคิรเณ, กฺวิ. มหรสพเป็นที่ฟังไกล วิ. นานาสมิทฺธีหิ สวนฺติ เอตฺถาติ อุสฺสโว. อุปุพฺโพ, สุ สวเน, โณ.
  6. อุฬารปูชาธมฺมสฺสวนทีปมาลากรณาทิ : (วิ.) (บุญ) มีอันบูชาด้วยสักการะอันยิ่งและอัน ฟังซึ่งธรรม และอันทำซึ่งประทีป และ ระเบียบ เป็นต้น.
  7. อุฬุก อุฬุงฺก : (ปุ.) แปลเหมือน อุหุการ. อุหุ  บทหน้า กา ธาตุ ในความร้อง อ ปัจ. แปลง ห เป็น ฬ เป็น อุลุงฺก อุฬูก บ้าง.
  8. เอตฺตก : (วิ.) มีประมาณเท่านี้ วิ. เอตํ ปริมาณํ อสฺสาติ เอตฺตกํ. เอต ศัพท์ซึ่งแปลงมาจาก อิม ศัพท์ ตฺตก ปัจ. ลบ ต ที่สุดทรัพย์.
  9. เอราวณ : (ปุ.) เอราวัณ ไอราวัณ ชื่อช้าง ประจำทิศบูรพา ชื่อช้างสามเศียรซึ่งเป็น ราชพาหนะของพระอินทร์ วิ. อิราวเณ ชาโต เอราวโณ (เกิดในสมุทรชื่อ อิราวัณ). ณ ปัจราคาทิตัท. ส. ไอราวณ. ไอราวต.
  10. เอหิปสฺสิก : (วิ.) ควรซึ่งวิธีว่า อ. ท่านจงมาดู, ควรซึ่งวิธีว่าท่านจงมาดู, ควรเรียกให้มาดู. วิ. เอหิ ปสฺสาติ อิมํ วิธึ อรหตีติ เอหิปสฺ สิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. รูปฯ ๓๖๐. โมคฯ ขาทิกัณฑ์ วิ. เอหิปสฺสวิธึ อรหตีติ เอหิปสฺสิโก.
  11. โอกฺกนฺติก : ค. ซึ่งเกิดขึ้น, อันปรากฏขึ้นบ่อยๆ
  12. โอกฺขายิก : ค. ซึ่งปรากฏ, ซึ่งอยู่ลึก
  13. โอคาธ : ๑. นป. ที่ที่มั่นคง; ๒. ค. ซึ่งหยั่งลง, ตั้งมั่น
  14. โอฏฺฐ : (ปุ.) อูฐ ชื่อสัตว์ ๔ เท้า ซึ่งใช้เป็น พาหนะในทะเลทราย. วสฺ กนฺติยํ, โต, วสฺโสตฺตํ (แปลง ว เป็น โอ). อุสฺ ทาเห วา. ส. อุษฺฏฺร.
  15. โอทนิย : ค. ซึ่งทำจากข้าวสุก, ซึ่งทำจากข้าวต้ม
  16. โอนมก : ค. ซึ่งก้มลง, ซึ่งโน้มลง
  17. โอปสมิก : ค. ซึ่งนำไปสู่แดนสงบ
  18. โอปสายิก : ค. ซึ่งอยู่แค่เอื้อมมือ, อยู่ใกล้มือ
  19. โอปารมฺภ : ค. ซึ่งช่วยเหลือ, ซึ่งเจือจาน, อุปถัมภ์, น่าตำหนิ, น่าติเตียน
  20. โอมิสฺสก : ค. ซึ่งประสมกัน, ที่ปนกัน
  21. โอมุกฺก : ค. ซึ่งเขาแก้ออก, ซึ่งเขาสลัดออก, ซึ่งเขาละทิ้ง
  22. โอลมฺพ : ค. ซึ่งห้อย, ซึ่งแขวน
  23. โอวาทปาฏิโมกฺข โอวาทปาติโมกฺข : (ปุ.) คำสั่งสอนอัน เป็นประธานโดยความเป็นใหญ่, โอวาทปาฏิโมกข์, โอวาทปาติโมกข์ ชื่อ โอวาทซึ่งประพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระอรหันต์ ๑๒๕๐ องค์ เป็น เอหิภิกขุอุป สัมปทา ทั้งสิ้น ซึ่งมาประชุมกันโดยมิได้ นัดหมาย ณ วันเพ็ญมาฆบูชาหลังตรัสรู้ แล้วได้ ๙ เดือน เป็นหลักสำคัญ (หัวใจ) ของพระพุทธศาสนา มหาปธานสูตร ที. มหา. ไตร. ๑๐/๕๔.
  24. โอสธิ โอสธี : (อิต.) ดาว (ทรงไว้ซึ่งรัศมี).
  25. โอสรก : ค. ซึ่งเป็นที่กำบัง, เป็นที่พักผ่อน
  26. โอสารณา : (อิต.) โอสารณา ชื่อของวินัยกรรม อันสงฆ์ทำคือ : การเรียก (รับ) สามเณรผู้กล่าวติเตียนพระรัตนตรัย ถูกสงฆ์นาสนะผู้กลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว ให้เข้าหมู่ได้ โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีอปโลกนกรรม. การเรียกอุปสัมปทาเปกขะ ซึ่งได้รับการไล่เรียง (ซักซ้อม) อันตรายิกธรรม ที่นอกเขตประชุมสงฆ์ (ห่างจากสงฆ์) ๑๒ ศอกแล้ว ให้เข้าหมู่สงฆ์ได้โอสาร- ณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติกรรม. การหงายบาตรแก่คฤหัสถ์ผู้ประพฤติให้ร้ายแก่พระศาสดา (ศาสนา)ถูกสงฆ์คว่ำบาตรคือไม่คบ ไม่รับกิจนิมนต์ ไม่รับบิณฑบาต ภายหลังรู้สึกตนกลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติทุติยกรรม. ๔. การยกโทษแก่ภิกษุผู้ประพฤติมิชอบ ซึ่งถูกสงฆ์ลงโทษด้วยตัชชนียกรรมผู้ กลับประพฤติดีแล้ว โอสารณานี้สงฆ์ ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม.
  27. โอสุมิก : ค. ซึ่งเป็นของร้อน, มีความร้อน
  28. โอหิยฺยก : ค. ผู้ล้าหลัง, ซึ่งอยู่ข้างหลัง
  29. โอหีน : กิต. ซึ่งถูกปล่อยไว้ข้างหลังแล้ว
  30. โอหีฬนา : อิต. การดูถูก, การหยามน้ำหน้า
  31. โอฬมฺปิก : ค. ซึ่งเกี่ยวข้องด้วยเรือ, คนล่องแพ
  32. คหน : ๑. นป. ดง, ป่าทึบ, ป่าชัฏ; ๒. ค. ทึบ, หนา, ลึก, รกชัฏ
  33. ฆน : (วิ.) ไม่ขาด, หนา, ชิด, หยาบ, แข็ง, ตัน, ทึบ, แท่งทึบ, แน่นอน, ปึก, แผ่น, ล่ำ, เป็นก้อน, เป็นกลุ่ม, เป็นกลุ่มเป็นก้อน, หมด, สิ้น. หนฺ พนฺธเน, อ, หสฺส, โฆ.
  34. ตพฺพ : (วิ.) ยิ่ง, มาก, หนา, ตั้งมั่น, มั่นคง, เป็นที่ตั้ง, เป็นที่อาศัย, ตั้งไว้, ทรงไว้. ตลฺ ปติฎฺฐายํ, โพ, ทฺวิตฺติ, ลูโลโป.
  35. ติปฺป : ค. แหลม, คม, กล้า, แข็ง, ล้ำ, ยิ่ง, มืด, หนา
  36. ถุล ถุลฺล : (วิ.) เต็ม, อ้วน, พี, ใหญ่, ล่ำ, หยาบ, หนา, หนัก. ถุลฺ ปริพฺรูหเน, อ, โล.
  37. นิรนฺตร : (วิ.) มีระหว่างออกแล้ว, หาระหว่าง มิได้, ไม่มีระหว่าง, ไม่ขาด, ไม่ขาดสาย, ไม่เว้นว่าง, ติดต่อกัน, ติดต่อกันไป, ติดต่อกันตลอดไป, เสมอ, หนา, ชิด, หยาบ. ส. นิรนฺตร.
  38. พหล : (วิ.) เจริญ, รุ่งเรือง, ใหญ่, หนา, ทึบ, ล่ำ, กล้า. พหฺ วุทฺธิมฺหึ, อโล.
  39. ภูริ ภูรี : (วิ.) มาก, เจริญ, แข็งแรง, หนา, หนักหนา.
  40. อุรุ : (วิ.) ใหญ่, หนา, มาก, เลิศ, ประเสริฐ, ยิ่ง, ยิ่งใหญ่, มีค่า. ส. อุรุ.
  41. อูรุ : (วิ.) ใหญ่, หนา, มาก. วิ. อรติ มหนฺต ภาวํ คจฺฉตีติ อูรุ. อรฺ คมเน, อุ, อสฺสู (แปลง อ เป็น อู).
  42. กุหณา กุหนา : (อิต.) การหลอก, ฯลฯ, ความหลอก, ฯลฯ. ส.กุหน.
  43. ปริคูหนา : อิต. การปกปิด, การซ่อน
  44. ปิหนา : อิต. ดู ปิหน
  45. อปริโยคาหนา : (อิต.) ความสงสัย, ความคลางแคลง, ความไม่แน่ใจ.
  46. อภิชีหนา : อิต. ความอุตส่าห์, ความพยายาม
  47. อภินิคณฺหนา : อิต. การยึด, การดึง
  48. อสงฺคาหนา : อิต. ดู อสงฺคห
  49. อุนฺนหนา : อิต. การพูดประจบประแจง, การพูดเอาใจคนอื่น
  50. อุปคณฺหนา : อิต. การเข้าไปยึด, การยึดหน่วง
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | [1551-1600] | 1601-1636

(0.0665 sec)