Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ซึ่งหน้า, หน้า, ซึ่ง , then ซง, ซงหนา, ซึ่ง, ซึ่งหน้า, หนา, หน้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ซึ่งหน้า, 1636 found, display 351-400
  1. ทสฺสนีย, - เนยฺย : ค. ซึ่งควรมองดู, ซึ่งควรแก่การเห็น, น่าดู, น่าชม, สวย, งาม
  2. ทสิก : ค. ๑. ซึ่งเห็นได้, ซึ่งปรากฏรูป, ซึ่งมีรูปร่าง (ใช้ต่อท้ายศัพท์ในคำสมาสเช่น ทุทฺทสิก เป็นต้น) ; ๒. ซึ่งเป็นไปในชายผ้า, ซึ่งเนื่องด้วยชายผ้า
  3. ทห : (ปุ.) สระ (ที่ขังน้ำขนาดใหญ่ ซึ่งเป้นเอง หรือคนขุด), บึง. วิ. อุทกํ ทธาตีติ ทโห. ทหฺ ธารเณ, อ. ทธฺ รเณวา, อ, ธสฺสโห.
  4. ทาต : ค. ซึ่งถูกตัด, ซึ่งถูกถอน, ซึ่งขาด
  5. ทานกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งทาน, ถ้อยคำกล่าวถึทาน, การกล่าว ถึงทาน.
  6. ทานทาย : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งทาน วิ. ทานํ ททาตีติ ทานทาโย. ทานปุพฺโพ, ทา ทาเน, โณ. แปลง อา เป็น อาย.
  7. ทานทายี : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งทาน, ผู้ให้ซึ่งทานโดย ปกติ, ผู้มีอันให้ซึ่งทานเป็นปกติ, ผู้มีปกติให้ซึ่งทาน. ณีปัจ. วิเคราะห์พึงเลียนแบบศัพท์ ธมฺมจารี.
  8. ทานสวิภาครต : (วิ.) ผู้ยินดีแล้วในการจำแนกซึ่งทาน, ผู้ยินดีในการแจกทาน.
  9. ทานานุโมทนปุญฺญ : (นปุ.) บุญคือความบันเทิงตามซึ่งทาน, บุญคือการอนุโมทนา ซึ่งทาน, บุญคือการอนุโมทนาทาน, บุญสำเร็จด้วยการอนุโมทนาทาน.
  10. ทานารห : (วิ.) ผู้ควรซึ่งทาน วิ. ทานํ อรหตีติ ทานารโห. ผู้ควรเพื่ออันรับซึ่งทาน, ผู้ควรรับทาน. วิ. ทานํ ปฏิคฺคหิตุ อรหตีติ ทานารโห. อ. ปัจ.
  11. ทายชฺช : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นประโยชน์ เกื้อกูลแก่บุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์อันมารดาและบิดาพึงให้ วิ. ทายาทสฺส หิตํ ธนํ ทายชฺชํ. ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์ อัน...พึงให้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับ ทรัพย์มรดก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับมรดก. วิ. ทายาทสฺส ภาโว ทายชฺชํ. ทายาท+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา ที่ ยาลบ อ ที่ ท ลบณฺ รวมเป็น ทายทฺย แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  12. ทายาท : (วิ.) ผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์อัน...พึงให้, ผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์อันมารดาและบิดาพึงให้, ผู้รับมรดก. วิ. ทายํ ทาตพฺพํ อาททาติ คณฺหาตีติ ทายาโท. ทาย อา ปุพฺโพ, ทา อาทาเน, อ. โมศฯ ณาทิกัณฑ์ ๕๙.
  13. ทายิกา : (อิต.) หญิงผู้ให้, ทายิกา. ศัพท์ที่ สำเร็จมาจาก ณฺวุ ปัจ. เมื่อลง อาอิต. แล้วต้องแปลง อ ของ อักษรตัวหน้า ก (ก ที่แปลงมาจาก ณฺวุ) เป็น อิ เสมอ รูปฯ ๕๕๔.
  14. ทารุจีริย : ค. (ผ้า) ซึ่งกรองด้วยเปลือกไม้, ผ้าเปลือกไม้กรอง
  15. ทารุช : ค. ซึ่งเกิดแต่ไม้, ทำด้วยไม้
  16. ทารุมณฺฑลิก : นป. วงเวียนซึ่งทำด้วยไม้, วงกลมไม้
  17. ทารุมย : ค. ซึ่งสำเร็จด้วยไม้, ซึ่งทำด้วยไม้
  18. ทารุสงฺฆาฏ : ป., ค. แพไม้, เรือ; ซึ่งต่อด้วยไม้, ซึ่งคาดด้วยไม้, ซึ่งสร้างด้วยไม้
  19. ทารุหฬิทฺทา : (อิต.) ไม้เหลือง, ขมิ้น. วิ. หฬิทฺทวณฺณทารุตาย ทารุหฬิทฺทา. กลับ บทหน้าไว้หลัง. เป็น ทารุหลิทฺทาบ้าง.
  20. ทาวคฺคิ : (ปุ.) ไฟอันไหม้ซึ่งป่า, ไฟเกิดในป่า, ไฟไหม้ป่า, ไฟป่า.
  21. ทิฏฺฐก : ค. ซึ่งถูกเห็น, ซึ่งถูกพบ, ซึ่งเห็นได้, ซึ่งปรากฏ
  22. ทิฏฺฐปฺปตฺต : ค. ผู้บรรลุแล้วซึ่งทิฏฐธรรม, ผู้บรรลุนิพพานในปัจจุบันชาติ
  23. ทิฏฺฐานุคติ : (อิต.) อันเป็นไปตามซึ่งความยินดี, ฯลฯ, อันเป็นไปตามซึ่งความเห็น, อันเป็นไปตามซึ่งทิฎฐิ, ความดูเยี่ยงด้วยสามารถแห่งทิฎฐิ, ความดำเนินตามซึ่ง สิ่งอันปรากฏ, แบบอย่าง.
  24. ทิฏฺฐิปฏิลาภ : ป. การได้เฉพาะซึ่งทิฐิ, การเข้าใจในทิฐิ
  25. ทิฏฺฐิปฏิเวธ : ป. การแทงตลอดถึงทิฐิ, การรู้ชัดซึ่งทิฐิ
  26. ทิฏฺฐิปฺปตฺต : ค. ผู้ถึงแล้วซึ่งทิฐิ, ผู้บรรลุธรรมด้วยความเห็นถูกต้อง, ผู้เข้าใจในหลักความเห็น
  27. ทิฏฺฐิสโยชน : นป. ทิฎฐิสังโยชน์, กิเลสเครื่องผูกสัตว์ในภพ คือทิฐิ, ความเห็นผิดซึ่งทำให้สัตว์ติดข้องอยู่ในภพ
  28. ทิณฺณ : ค. ซึ่งแตก, ซึ่งทำลาย, ซึ่งแยก, ซึ่งขาดสาย
  29. ทิพฺพภูสา : (อิต.) ผ้าอันเป็นทิพย์, ผ้าทิพ, ผ้า ทิพย์, ผ้าทพ ผ้าทิพย์ ชื่อผ้าที่ห้อยตรง หน้าฐานพระพุทธรูป ทำเป็นลายผ้า เมื่อปั้นหุ่นฐานพระพุทธรูป เมื่อเทวัตถุอะไรลงไปตามที่ต้องการก็สำเร็จเป็นผ้าทิพย์พร้อมกับฐานนั้น. อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของพระราชอาสน์พนักพลับพลา.
  30. ทิวสนฺตตฺต, - สสนฺตตฺต : ค. ซึ่งถูกแผดเผามาตลอดวัน
  31. ทิวิภว : ค. ซึ่งมีในสวรรค์, เป็นอย่างสิ่งที่มีอยู่ในสวรรค์
  32. ทิสมฺปติ : (ปุ.) ทิสัมปติ ชื่อของพระราชา, พระราชา. วิ. ทิสานํ ปติ ทิสมฺปติ (ผู้เป็นใหญ่แห่งทิศ ท.) ทิสํ ปาเลตีติ วา ทิสมฺปติ. ทิสาปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, ติ. รัสสะ อา ที่ สา และ ป่า ลงนิคคหิตอาคมที่บทหน้า แปลง เป็น ม.
  33. ทีปงฺกร : (วิ.) ผู้ทำซึ่งที่พึ่ง วิ. ทีปํ กโรตีติ ทีปงฺกโร. ทีปปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ. ลง นุ อาคมในท่ามกลาง แล้วแปลงเป็นนิคคหิต แล้วแปลงนิคคหิตเป็น งฺ รูปฯ ๕๔๙.
  34. ทีปน : ค., นป. ซึ่งส่อง, ซึ่งแสดง, ซึ่งอธิบาย, การแสดง, การชี้แจง, การอธิบาย
  35. ทีปนี : ค., อิต. ซึ่งส่อง, ซึ่งแสดง, ซึ่งชี้แจง, ซึ่งอธิบาย; คัมภีร์อธิบายความ
  36. ทุ : (อัพ. อุปสรรค) ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เสีย, น้อย. ที่ใช้ในภาษาไทย เมื่ออยู่หน้าอักษรต่ำ แปลง ทุ เป็น ทร ทุร อุ. ทรชน ทุรชน. ส. ทุ.
  37. ทุกฺกฏ : นป. การกระทำผิด, ความชั่ว, ชื่ออาบัติเบาชนิดหนึ่งซึ่งเรียกว่าอาบัติทุกกฎ
  38. ทุกฺกต, - กฏ : ค. ซึ่งทำไว้ไม่ดี, ซึ่งทำไว้ชั่ว
  39. ทุกฺขตา : อิต., ทุกฺขตฺต นป. ความเป็นสิ่งที่ทนได้ยาก, ความเป็นทุกข์, ความเป็นสิ่งที่นำมาซึ่งทุกข์
  40. ทุกฺขนิโรธ : (ปุ.) ความดับซึ่งทุกข์, ความดับทุกข์, ทุกขนิโรธ ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๓.
  41. ทุกฺขนิโรธคามินี : ค. (ปฏิปทา) ซึ่งยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับแห่งทุกข์
  42. ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทา : (อิต.) ปฏิปทาอัน ยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับทุกข์, ทางดำเนินอันยังสัตว์ให้ถึงความดับทุกข์, ข้อปฏิบัติอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๔.
  43. ทุกฺขปปตฺต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งทุกข์ วิ. ทุกฺขํ ปตฺโต ทุกฺขปฺปตฺโต.
  44. ทุกฺขปฺปตฺต : ค. ผู้ถึงแล้วซึ่งทุกข์, ผู้ประสพความทุกข์
  45. ทุกฺขปริชานนาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจมีอัน กำหนดรู้ซึ่งทุกข์เป็นต้น. เป็นวิเสสนบุพ. กัม. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นภายใน.
  46. ทุกฺขปเรต : (วิ.) มีทุกข์ถึงแล้วในเบื้องหน้า, อันทุกข์ถึงรอบแล้ว, อันทุกข์ครอบงำแล้ว.
  47. ทุกฺขาธิวาห : (ปุ.) ธรรมชาตผู้ซึ่งนำไปซึ่งทุกข์ อันยิ่ง, ความนำไปยิ่งซึ่งทุกข์.
  48. ทุกฺขาภิกิณฺณ : ค. ซึ่งเกลื่อนกล่นด้วยทุกข์, ซึ่งมีทุกข์มาก
  49. ทุกฺขูปธาน : นป. การเข้าไปตั้งไว้ซึ่งความทุกข์, การก่อทุกข์
  50. ทุคฺคต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งความยาก, ฯลฯ. ทุกฺข+คต.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1636

(0.0720 sec)