Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ซึ่งหน้า, หน้า, ซึ่ง , then ซง, ซงหนา, ซึ่ง, ซึ่งหน้า, หนา, หน้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ซึ่งหน้า, 1636 found, display 901-950
  1. ปุเรกฺขาร : (ปุ.) อันกระทำในเบื้องหน้า, การกระทำในเบื้องหน้า, การห้อมล้อม, ความนับถือ. ปุร+กรฺ+ณ ปัจฺ แปลง กรฺ เป็น ขรฺ ทีฆะ ลบ ณฺ คงวิภัติของบทหน้าไว้ ซ้อน กฺ รูปฯ ๕๖๖. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๒๔ ตั้ง ปุรา+กรฺ+ร ปัจจฺ เอา อา แห่ง ปุรา เป็น เอ.
  2. ปุเรคามี : (วิ.) ผู้ไปก่อน, ผู้มีปกติไปก่อน, ผู้มีปกติไปข้างหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ปุเร+คมฺ+ณี ปัจฺ ผู้ไปในเบื้องหน้า ปุร+คมฺ+ณี ปัจฺ ผู้มีปกติไปในเบื้องหน้า วิ. ปุเร คมนสีโล ปุเรคามี. ไม่ลบวิภัติของบทหน้า.
  3. ปุเรจร : (วิ.) ผู้ไปในเบื้องหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. วิ. ปุเร จรตีติ ปุเรจโร. ปุรปุพฺโพ, จรฺ คติยํ, อ, สตฺตมิยา อโลโป.
  4. ปุเรจาริก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยอันเที่ยวไปก่อน, ผู้ประ กอบด้วยอันเที่ยวไปในเบื้องหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้เที่ยวไปข้างหน้า, เป็นเครื่องนำหน้า, เป็นอารมณ์. ณิก ปัจ. สกัด.
  5. ปุเรชา : ค. วิ่งไปข้างหน้า
  6. ปูชนีย ปูชเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรซึ่งอันบูชา, ฯลฯ, ควรบูชา, ควรนับถือ, น่าบูชา, น่านับถือ. วิ. ปูชนํ อรหตีติ ปูชนีโย ปูชเนยฺโย วา. อีย, เอยฺย ปัจ.
  7. เปจฺจ : (อัพ. นิบาต) ภพอื่น, ข้างหน้า, โลกหน้า, ภายหน้า. ที่ใช้เป็นกิริยา แปลว่าละไปแล้ว.
  8. เปสการ : (ปุ.) บุคคลผู้กระทำซึ่งกรรม คือ อันส่งไป, บุคคลผู้ทำซึ่งการพุ่ง, ช่างทอ, ช่างหูก, ช่างทอหูก.
  9. เปสุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งวาจาอันบดเสียซึ่งประโยชน์. ปิสุณ หรือ ปิสุน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ เป็น เอ แปลง ณฺย (คือ ณ ที่สุดศัพท์เมื่อลบ อ แล้วกับ ย ปัจ. เมื่อลบ ณฺ แล้ว) เป็นญฺญ หรือ นฺย (คือที่สุดศัพท์เช่นกัน) เป็น ญฺญ.
  10. โปกฺขรสาตก : (ปุ.) นกดอกบัว, นกกวัก, นกนางนวล, นกกระทุง, นกกะลิง. วิ. โปกฺขรสฺส สญฺญา ยสฺส โส โปกฺขร-สาตโก. แปลง ญ ตัวหน้าเป็น ต ตัวหนังเป็น ก และทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา.
  11. ผริต : ค. ซึ่งแผ่ไป, ซึ่งซ่านไป, ซึ่งกระจายไปแล้ว
  12. ผลมย : ค. ซึ่งกระทำด้วยไม้กระดาน, ซึ่งสำเร็จด้วยแผ่นกระดาน
  13. ผลรุห : ค. ซึ่งออกมาจากผล, งอกขึ้นมาจากพืช, ผลไม้
  14. ผสฺสิต : ค. ซึ่งถูกต้อง, ซึ่งสัมผัส, ซึ่งได้รับ, ซึ่งบรรลุ
  15. ผาลก : ค. ซึ่งแตก, ซึ่งแยก, ผู้ผ่า, ผู้ทำให้แตกออก
  16. ผาลิต : ค. ซึ่งเปิดออก, ซึ่งแตกออก, ซึ่งขยายออก,ซึ่งยืดออก
  17. ผาลิม : ค. ซึ่งเผยออก, ซึ่งผลิออก, ซึ่งแยกออก, ซึ่งเปิดออก, ซึ่งบาน
  18. ผาสุลิกา : (อิต.) สีข้าง, ซี่โครง. รากศัพท์เหมือนผาสุกา ต่างแต่ลง ลิ อาคมหน้า ก. อภิฯ
  19. ผุฏฺฐ : ค. ซึ่งถูกต้อง, ซึ่งสัมผัส, ซึ่งกระทบ, ซึ่งแผ่ซ่าน, ซึ่งเสียวซ่าน
  20. ผุฏิต : ค. ซึ่งสั่น, ซึ่งหวั่นไหว, ซึ่งโคลงเคลง, ซึ่งระเบิด, ซึ่งแตก, ซึ่งแย้ม, ซึ่งบาน
  21. ผุลฺล, ผุลฺลิต : ค. ซึ่งบาน (ดอกไม้); ซึ่งแตก, ซึ่งผลิออก
  22. ผุสฺสรถ : ป. รถที่เทียมด้วยม้าขาวของพระเจ้าจักรพรรดิ ซึ่งถูกปล่อยไปเพื่อแสดงแสนยานุภาพ, รถประจำแคว้น
  23. ผุสฺสิต : ค. ซึ่งบาน, ซึ่งแย้ม
  24. เผคฺคุ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, หาแก่นมิได้, ไร้สาระ. วิ. ผลติ นิปฺผลํ คจฺฉตีติ เผคฺคุ (ถึงซึ่งความมีผลออกแล้ว ไม่มีผล). ผลฺ นิปฺผตฺติยํ, คุ, อสฺเส, ลสฺส โค.
  25. เผณูปม : ค. ซึ่งเปรียบด้วยฟองน้ำ, ซึ่งเหมือนฟองน้ำ
  26. เผวร : ค. ซึ่งฉลาดแกมโกง; ซึ่งมีภัยอันตราย
  27. โผฏฺฐ : ค. ซึ่งถูกต้อง, ซึ่งสัมผัส
  28. โผฏฺฐพฺพ : (นปุ.) อารมณ์อันบุคคลพึงถูกต้อง, อารมณ์ที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้องได้ด้วยกาย. สิ่งที่เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ละเอียด หยาบ ซึ่งมากระทบกายกระทบผิวกาย เรียกว่า โผฏฐัพพะทั้งสิ้น. ผุสฺ สมฺผสฺเส, ตพฺโพ, สสฺส โฏ, ตสฺส โฐ.
  29. โผสิต : ค. ซึ่งเขาพรมหรือโปรยแล้ว
  30. พกุลวณฺณ : ค. ซึ่งมีสีเหมือนสีของดอกพิกุล
  31. พทฺธจร : ป., ค. รับใช้, ซึ่งอยู่ภายใต้; คนรับใช้
  32. พทฺธเวร : (นปุ.) การผูกเวร. เวร+พทฺธ กลับบทหน้าไว้หลัง.
  33. พทร : (วิ.) ทำลายซึ่งความกระวนกระวายอันเป็นไปทั่วแล้ว, อันทำลายซึ่งความเร่าร้อนอันเป็นไปทั่วแล้ว. ปวตฺตปุพฺโพ, ทร วิทารเณ, อ, ลบ วตฺต แปลง ป เป็น พ.
  34. พนฺธุกรุจิร : ค. ซึ่งงามประดุจดอกชบา
  35. พนฺธุร : ค. ซึ่งไม่ราบเรียบ, ซึ่งเป็นลูกคลื่น
  36. พฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ. วิ. วินฏฺฐ สุขํ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (ทุกข์). ความฉิบหายอันส่ายเสียซึ่งความเจริญให้พิ นาศ. วิ. วินฏฺฐ วุทฺธึ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (นสฺสนํ). โทษเกิดจากกาม (กามชโทส), โทษเกิดจากความโกรธ (โกปชโทส), ความทุกข์, ทุกข์, ความวิบัติ, ความฉิบหาย, ความวอดวาย, ความพินาศ. วิ. วิรูป มสติ อเนนาติ วฺยสนํ พฺยสนํ วา. วิสิฏฺฐ วา อสติ เขเปตีติ วิยสนํ พฺยสนํ วา.
  37. พฺยามปฺปภา : อิต. รัศมี ๑ วา ซึ่งซ่านออกจากพระกายของพระพุทธเจ้า
  38. พฺยารุทฺธ : ค. ซึ่งถูกกั้น, ซึ่งถูกปิดแล้ว
  39. พฺยาวฏ : ค. ซึ่งถูกปกปิด, ซึ่งประดับประดาแล้ว
  40. พฺรหฺมจริย : (นปุ.) ความประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ, ความประพฤติประเสริฐ, ความประพฤติเพียงดังพรหม, ความประพฤติเหมือนพรหม, ความหนักแน่น, ความตั้ง ใจมั่น, ทาน, อัปปมัญญา, สาสนะ, พรหมจรรย์ (การถือบวช การถือพรตเว้นเมถุนธรรม). ความสิ้นราคะ โทสะและโมหะ เป็นที่สุดของพรหมจรรย์ ไตร. ๑๙/๓๐/๙.
  41. พฺรหฺมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ. วิ. พฺรหฺมํ จรตีติ พฺรหฺมจารี. ณี ปัจ. ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ วิ. พฺรหฺมจริยํ จรตีติ พฺรหฺมจารี. ผู้ประพฤติพรหมจรรย์โดยปกติ, ฯลฯ. คำแปลและ วิ. อีก ดู ธมฺมจารี เทียบ.
  42. พฺรหฺมปรายน : ค. มีพรหมโลกเป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มีเหตุอันจะต้องเข้าถึงความเป็นพรหม
  43. พฺรหฺมยานิย : ค. ซึ่งนำไปสู่ความเป็นพรหม
  44. พฺรหฺมลิขิต : (นปุ.) รอยเขียนของพระพรหม, พรหมลิขิต (เส้นชี้ชะตากรรมของคนซึ่งเป็นไปตามอำนาจของกรรม).
  45. พลกฺการ : (ปุ.) การกระทำซึ่งกำลัง, การกระทำด้วยกำลัง, การข่มเหง, ความข่มเหง, พลการ (ใช้อำนาจบังคับตามอำเภอใจ).
  46. พลจกฺก : ๑. นป. พลจักร์, ความเป็นไปหรือแผ่ไปแห่งอำนาจ; ๒. ค. ซึ่งมีอำนาจสูงสุด, มีอำนาจในการปกครอง
  47. พลปฺปตฺต : ค. ถึงแล้วซึ่งกำลัง, มีกำลัง, มีอำนาจ
  48. พลวปจฺจุส พลวปจฺจูส : (ปุ.) กาลอันกำจัดเฉพาะซึ่งมืดมีกำลัง, เวลาย่ำรุ่ง.
  49. พลวปจฺจูสมย : (ปุ.) สมัยอันกำจัดเฉพาะซึ่งมืดมีกำลัง, สมัยอันกำจัดเสียซึ่งมืดมีกำลัง, เวลาย่ำรุ่ง.
  50. พลสชฺชน : (นปุ.) การสละซึ่งพลในการรบ. ยุทธกาเร พลสฺส สชฺชนํ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | [901-950] | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1636

(0.1130 sec)