Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กำหนัด , then กำหนด, กำหนัด .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กำหนัด, 192 found, display 101-150
  1. ปณฺณสญฺญา : อิต. เครื่องกำหนดหมายคือใบไม้, เครื่องหมายทำด้วยใบไม้
  2. ปปญฺจสญฺญาสงฺขา : อิต. ส่วนแห่งสัญญาอันประกอบด้วยปปัญจธรรม, ความคิดความกำหนดหมายที่หน่วงเหนี่ยวจิต, ความคิดปักใจ
  3. ปมาณวนฺตุ : ค. มีประมาณ, มีกำหนด, วัดได้, จำกัด; มี (คุณ) พอประมาณได้หรือวัดได้
  4. ปมายี : ค. ซึ่งประมาณ, ซึ่งวัด, ซึ่งกะ, ซึ่งกำหนด
  5. ปรมายุ : ป. กำหนดอายุ, เกณฑ์อายุ
  6. ปริกปฺป : (ปุ.) ความคำนึง, ความดำริ, ความตรึก, ความกำหนด, ความเอนเอียง, คำ ปริกัป, บริกัลป์. ปริปุพฺโพ, กปฺปฺ วิตกฺก ปริจฺเฉเทสุ, อ. ส. ปริกลฺป.
  7. ปริกปฺเปติ : ก. ย่อมตั้งใจ, ย่อมดำริ, ย่อมกำหนด, ย่อมคาดคะเน
  8. ปริกมฺม : (นปุ.) การทำบ่อยๆ, การทำซ้ำๆ, การขัดถู, การบริกรรม, ไทยใช้บริกรรม เป็นกิริยาในความว่า สำรวมใจสวดมนต์ สำรวมใจร่ายมนต์เสกคาถา เสกเป่า ตกแต่ง กำหนดใจ นวดฟั้น ฉาบทา.
  9. ปริคฺคณฺห : (ปุ.) การกำหนดถือเอา วิ. ปริฉินฺทิตฺวา คหณํ ปริคฺคโณฺห. การถือเอาโดยรอบ, การรับเอา, การรวบรวม, การสะสม, การยึดถือ, การหวงแหน, ความถือ เอาโดยรอบ, ฯลฯ, คำที่แน่นอน, เรือน. ปริ+คหฺ+ณฺหา และ อ ปัจ. ลบ ที่สุดธาตุ ซ้อน คฺ.
  10. ปริคฺคห : (ปุ.) การกำหนดถือเอา, ฯลฯ. อ, ยุ ปัจ.
  11. ปริคฺคหณ : (นปุ.) การกำหนดถือเอา, ฯลฯ. อ, ยุ ปัจ.
  12. ปริคฺคหิต : กิต. ยึดถือแล้ว, กำหนดแล้ว, สำรวจแล้ว, ค้นหาแล้ว
  13. ปริคณฺหณ : นป. การยึดถือ, การสอบสวน, ความเข้าใจ, ความกำหนด
  14. ปริจฺฉิชฺช : กิต. กำหนดแล้ว
  15. ปริจฺเฉท : ป. การกำหนด, ตอน
  16. ปริจฺเฉทกาล : (ปุ.) เวลาเป็นที่กำหนด, เวลาที่มี กำหนด, เวลาที่มีกำหนดเอาไว้.
  17. ปริเฉท ปริจฺเฉท : (ปุ.) การกำหนด, ความกำหนด, ปริเฉท, บริเฉท ( ข้อความที่ กำหนดไว้เป็นตอนๆ ข้อความที่รวบรวมไว้ แล้วจัดเป็นตอนๆ ).
  18. ปริชานน : (นปุ.) การกำหนดรู้, ความกำหนด รู้, วิ. ปริฉินฺทิตฺวา ญาณํ ปริชานนํ. ความรู้รอบ, ความรอบรู้, วิชา, ปัญญา. ปริปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, ยุ.
  19. ปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่องกำหนดรู้, ปัญญาเป็นเครื่องกำหนดรู้, ความกำหนดรู้, ความรู้รอบ, ความรอบรู้, ความหยั่งรู้, ความรู้รอบคอบ. ปริ+ญา+อ ปัจ. ซ้อน ญฺ อา อิต. ไทย ปริญญา หมายถึงชั้นความรู้ ที่มหาวิทยาลัยหรือวิทยาลัย ซึ่งมีกฎหมาย กำหนดให้ให้ปริญญาได้ ประสาทให้แก่ผู้ที่ สอบความรู้ได้ตามที่กำหนดไว้. ส. ปรีชฺญา.
  20. ปริญฺญาต : กิต. กำหนดรู้แล้ว
  21. ปริญฺเญยฺย : นป. ควรกำหนดรู้
  22. ปริปนฺถ : (ปุ.) อันตรายเป็นเครื่องเบียดเบียน รอบ, อันตรายในทางเปลี่ยว, ทางเปลี่ยว, หนทางเปลี่ยว, อันตราย อุ. โลโภ ธมฺมานํ ปริปนฺโถ. ปริปุพฺโพ, ปถิ คติยํ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ถึนขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ถ้าได้กรานกฐินมีกำหนด ๗ เดือน คั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ถึง ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ไตร. ๒/๓๔.
  23. ปริมาณ : นป. การนับ, การกะ, การกำหนด
  24. ปริมิต : กิต. นับแล้ว, กะแล้ว, กำหนดแล้ว, จำกัดแล้ว
  25. ปริยนฺตกต : ค. กำหนดเขต, กะเขต, จำกัดเขต
  26. โปตฺถ โปตฺถก : (ปุ. นปุ.) สมุด, หนังสือ, คัมภีร์, ตำรับ (ตำราที่กำหนดไว้เฉพาะแต่ละเรื่องละราย), ตำรา.
  27. พทฺธสีมา : (อิต.) เขตอันสงฆ์ผูกแล้ว, แดนอันสงฆ์ผูกแล้ว, พัทธสีมา คือเขตแดนที่สงฆ์กำหนดขึ้น มีศิลาเป็นต้น เป็นครื่องหมายเขต.
  28. พุทฺธปญฺญตฺติ : อิต. บัญญัติของพระพุทธเจ้า, ข้อกำหนดทางพระวินัย ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงวางไว้เป็นสิกขาบท
  29. มน : (ปุ. นปุ.) สภาพผู้รู้, ธรรมชาตรู้, ใจ. วิ. เอกาย นาฬิกา เอกาย ตุลาย มิณมาโณวิย อารมฺมณํ มินาติ ปริจฺฉินฺทตีติ มโน (นับกำหนดอารมณ์). มนติ ชานาตีติ วา มโน (รู้ ทราบอารมณ์).
  30. มนสิการ : (ปุ.) อันกระทำไว้ในใจ, ฯลฯ, การกำหนดในใจ, การใส่ใจ, การพิจารณา, ความกระทำไว้ในใจ, ฯลฯ.
  31. ยถาวิหิต : ค. ตามที่ได้กำหนดหรือจัดไว้แล้ว
  32. ยมกวคฺควณฺณนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งวรรคอันบัณฑิตกำหนดนับด้วยเรื่องอันแสดงของที่เป็นคู่ๆ กัน.
  33. ยาวชีว : (นปุ.) เพียงไรแห่งชีวิต, กำหนดเพียงไร. แห่งชีวิต. วิ. ชีวสฺส ยตตโก ปริจฺเฉโท ยาวชีวํ.
  34. ยาวตายุก : (นปุ.) กำหนดเพียงใดแห่งอายุ, กำหนดเพียงไรแห่งอายุ.
  35. ยุค : (ปุ.) คราว, สมัย, กัปป์ (ยุค), ยุค, แอก, คู่. กำหนดเวลาของโลกมี ๔ ยุค คือ กฤดายุค ไตรดายุค ทวาปรยุค และกลียุค. ยุคที่อยู่กันนี้เป็นกลียุค เป็นยุคเสื่อมกว่ายุคก่อนๆ.
  36. รฏฺฐนิยม : (ปุ.) ความกำหนดของบ้านเมือง, รัฐนิยม.
  37. วจีวิญฺญตฺติ : อิต. วจีวิญญัติ, การกำหนดหมายให้รู้โดยทางคำพูด
  38. ววตฺถเปติ : ก. กำหนด, จัดระเบียบ
  39. ววตฺถาปน : นป. การกำหนด, การตั้งใจแน่วแน่
  40. วิกปฺป : ป. การใคร่ครวญ, การกำหนด, การให้, การฝาก
  41. วิกปฺเปติ : ก. กำหนด, ดำริ, จัด
  42. สงฺเกต : นป. การหมายไว้, การกำหนดไว้
  43. สมฺมตตนิยาม : (ปุ.) การกำหนดซึ่งตนโดยชอบ, ความพิจารณาซึ่งตนโดยชอบ, ความกำหนดพิจารณาตนโดยชอบ. สมฺมา+อตฺต+นิยาม.
  44. สมฺมสนญาณ : (นปุ.) ความรู้ในการพิจารณารูปและนามเป็นไตรลักษณ์, ญาณในการพิจารณารูปและนามโดยความเป็นไตรลักษณ์. การกำหนดขันธ์ ๕ คือ ...อาตยนะ ภายใน ๖ คือ ... และชาติโดยความเป็นของไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์โดยความเป็นอนัตตา เรียกว่าสัมมสนญาณ ไตร. ๓๑ ข้อ ๙๙.
  45. สลฺลกฺขณ : (นปุ.) การกำหนดดี, การกำหนดด้วยดี, ลักษณะดี. เป็น สลฺลขณา สลฺลกฺขนา (อิต.) บ้าง.
  46. สลฺลกฺเขติ : ก. กำหนด, พิจารณา
  47. สารชฺชติ : ก. กำหนด, ยินดี
  48. สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
  49. สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
  50. เสรีนิยม : (ปุ.) การกำหนดในเสรีภาพ, ความพอใจในเสรีภาพ, ความชอบใจในเสรีภาพ.
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-192

(0.0222 sec)