Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ละครร้อง, ละคร, ร้อง , then รอง, ร้อง, ละคร, ละครร้อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ละครร้อง, 208 found, display 51-100
  1. : (ปุ.) เสียง, สำเนียง, เสียงร้อง. ฏี ปกฺขนฺทเน, อ. การปิด, การปกปิด, การกำบัง, เครื่องปิด, ฯลฯ ฏิ ฏี วา อจฺฉาทเน, อ. นก. ฏิ ฏี วา อากาสคมเน, อ.
  2. ตาร : (วิ.) ร้องดัง, ร้องดังก้อง, ร้องกึกก้อง.
  3. ทนฺตคีต : (นปุ.) การขับร้องด้วยฟัน, การผิวปาก.
  4. ธมฺมาลปน : นป. การร้องเรียกกันด้วยคำอันสมควร, การเรียกกันในแบบที่ถูกต้องตามธรรม
  5. เธวต : (ปุ.) เธวตะ ชื่อเสียงดนตรีอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง เสียงเหมือนม้าร้อง. อภิฯ วิ. ธีมนฺเต วทียเตติ เธวโต. โต, วณฺณวิกาโร, ฏีกาอภิฯ วิ. ธีมนฺเตหิ คียเตติ เธวโต. วณฺณวิกาโร, มสฺส วตฺตํ.
  6. นจฺจฏฺฐาน : นป. โรงละคร, สถานเต้นรำ
  7. นฎ นฎก นฏฏ นฏฏก : (ปุ.) คนเต้น, คนรำ, คนเต้นรำ, ลิเก, ตัวลิเก, ตัวละคร. นฏฺ นตฺยํ. ศัพท์ที่ ๑, ๓ อ ปัจ. ศัพท์ ที่ ๒, ๔ ณฺวุ ปัจ. ศัพทืที่ ๓, ๔ แปลง ฏ เป็น ฏฺฏ. ส. นฎ, นรฺตก.
  8. นฏ, นฏก, นฏฺฏ, นฏฺฏก, นตฺตก : ค. คนฟ้อนรำ, นักเต้นรำ, ตัวละคร
  9. นท : (ปุ.) บุคคลผู้บันลือ, บุคคลผู้ร้อง, การบันลือ, ฯลฯ, แม่น้ำ, ลำน้ำ, นทฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ . ส. นท แม่น้ำ.
  10. นทน : นป. การบันลือ, การแผดเสียง, การคำราม, การร้อง
  11. นทิต : นป. เสียงคำราม,เสียงร้อง
  12. นวนาฎยฺรส : (ปุ.) รสแห่งการฟ้อนรำขับร้อง และประโคมเก้าอย่าง, รสแห่งนาฏยะเก้า อย่าง.
  13. นาฏก : ๑. ป. ตัวละคร, นักฟ้อน, นักเต้นรำ, นักแสดง, ๒. นป. การแสดง, การละคร
  14. นาฏกิตฺถี, (นาฏิกา) : อิต. นักฟ้อนหญิง, นางละคร
  15. นาฏ นาฏก : (ปุ.) คนเต้น, คนรำ, คนเต้นรำ, คนฟ้อน, คนฟ้อนรำ, ตัวละคร. ส. นาฏก.
  16. นาฏย : นป. การดีด, การสี, การตี, การเป่า, การขับ, การร้อง
  17. นาฏยสาลา : (อิต.) โรงละคร. ส. นาฏยศาลา.
  18. นาท : (ปุ.) การบันลือ, การแผดเสียง, ความบันลือ, ความแผดเสียง, เสียง, เสียงร้อง, เสียงบันลือ. วิ. นทนํ นาโท. นทฺ อพฺยตฺสทฺเท, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นาท.
  19. นิกูชติ : ก. ร้องเสียงแหลม, ส่งเสียงร้องด้วยความยินดี, คุยอย่างสนุก
  20. นิกูชิต : ค. ซึ่งร้องเสียงแหลม, ซึ่งส่งเสียง
  21. นิรว : (วิ.) มีเสียงออกแล้ว, ไม่มีเสียง, ปราศ จากเสียง, มีเสียงร้องออกแล้ว, ฯลฯ, ไม่มีเสียงอึกทึก, เงียบ.
  22. นิสาท : ค. เสียงเหมือนช้างร้อง
  23. ปกฺโกสติ : ก. ร้องเรียก
  24. ปกฺโกสน : นป., - นา อิต. การร้องเรียก
  25. ปกฺโกสิต : กิต. ร้องเรียกแล้ว
  26. ปฏิคายติ : ก. ขับเพลงตอบ, ร้องเพลงตอบ
  27. ปฏิคีต : นป. เพลงขับตอบ, เพลงที่ร้องโต้ตอบ
  28. ปฏิรว : ป. การร้องตะโกน, เสียงคำราม, เสียงร้องตอบ
  29. ปนาท : ป. การบันลือลั่น, เสียงโห่ร้องด้วยความยินดี
  30. ปนาเทติ : ก. บันลือลั่น, แผดเสียง, ตะโกน, โห่ร้อง (ด้วยความยินดี)
  31. ปริทฺทว ปริเทว : (ปุ.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
  32. ปริเทวน : (นปุ.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
  33. ปริเทวนา : (อิต.) การร้อง, การร้องไห้, ร่ำไร, การร้องไห้ร่ำไรรำพัน, การรำพัน, การพิไรรำพัน, การบ่นเพ้อ, การคร่ำครวญ ความร้องไห้, ฯลฯ, เทวษ. ปริปุพฺโพ, เทวฺ เทวเน, อ, ยุ. แปลงปริเทว เป็น ปริทฺทว. ปริเทโว เอว ปริทฺทโว.
  34. พกฺกุล : ป., นป. ปีศาจ, การเปล่งเสียงร้องอย่างน่ากลัว
  35. พทฺธราว : ป. เสียงร้องของสัตว์ที่ติดบ่วง
  36. เภรณฺฑก : นป. เสียงร้องของหมาจิ้งจอก
  37. เภริจารณ : นป. การตีกลองร้องป่าวประกาศ
  38. รณ : (ปุ.) การร้อง, เสียง, เสียงร้อง, การรบ, สงคราม, กิเลส, ความชั่ว, ความเสียหาย, บาป. รณฺ สทฺเท, อ.
  39. รวติ : ก. ร้อง, แผดเสียง
  40. รวน : นป. การร้อง, การแผดเสียง
  41. ราว : ป. เสียง, เสียงร้อง
  42. รุต : นป. เสียงร้องของสัตว์
  43. วณิพฺพก : ป. วณิพก, คนขอทานโดยร้องเพลง
  44. วสฺสิต : กิต. ร้องแล้ว (สัตว์ร้อง)
  45. วิกฺกนฺตติ : ก. ร้องเสียงดัง, ตะโกน
  46. วิกูชติ : ฏ. ร้องเจี๊ยวจ๊าว, ร้องเพลง
  47. วิกูชน : นป. การร้อง (ของนก)
  48. วิรว : ป. การร้อง, การตะโกน
  49. วิรวติ : ก. ร้องดัง
  50. วิสฺสร : ค. ร้องด้วยความระทมใจ
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-208

(0.0403 sec)