Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ใกล้เคียง, เคียง, ใกล้ , then กล, ใกล้, ใกล้เคียง, เคียง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ใกล้เคียง, 220 found, display 51-100
  1. นิกฎ : (วิ.) ใกล้, ริม. วิ. นตฺถิ กโฏ อาวรณ เมตสฺสาติ นิกฏํ. ส. นิกฎ.
  2. นิปาน : (นปุ.) ที่ดื่มน้ำของสัตว์, รางน้ำใกล้ สระ. วิ. นิปิวนฺตฺยสฺมินฺติ นิปานํ. นิปุพฺโพ, ปา ปาเน, ยุ. ส. นิปาน.
  3. ปจฺจูส : ป. ใกล้รุ่ง, เช้าตรู่
  4. ปฏฺฏน : นป. ท่า, เมืองท่า, เมืองใกล้เมืองท่า
  5. ปฏิธาวติ : ก. วิ่งกลับไปหา, วิ่งเข้าไปใกล้
  6. ปฏิภาคนิมิตฺต : นป. ปฏิภาคนิมิต, นิมิตเทียบเคียง
  7. ปทฏฺฐาน : (วิ.) เป็นเหตุใกล้.
  8. ปมทาวน : นป. อุทยานใกล้พระราชวัง
  9. ปยิรุปาสติ : ก. เข้าไปนั่งใกล้, เข้าไปคอยรับใช้, คบหา, เคารพ, ยกย่อง; เยี่ยมเยียน
  10. ปยิรุปาสน : นป., - สนา อิต. การเข้าไปนั่งใกล้, การเข้าไปคอยรับใช้, การคบหา, การเคารพนับถือ, การบูชา
  11. ปยิรุปาสิก : ค. ผู้เข้าไปนั่งใกล้, ผู้คอยรับใช้, ผู้คบหา, ผู้บูชา
  12. ปยิรุปาสิต : กิต. (อันเขา) เข้าไปนั่งใกล้แล้ว, ปรนนิบัติแล้ว, เคารพบูชาแล้ว
  13. ปริชน : (ปุ.) ชนผู้แวดล้อม, ชนผู้ข้างเคียง, ชนผู้เป็นบริวาร, ชนข้างเคียง, ชนผู้เป็น บริวาร. ปริวาร+ชน ลบ วาร.
  14. ปริปท : (นปุ.) ข้อความรอบๆ , บทข้างเคียง คือคำหรือข้อความแวดล้อม เพื่อช่วยให้ เข้าใจความหมาย.
  15. ปริยุปาสน : (นปุ.) การนั่งใกล้. ปริ + อุปาสน ยฺ อาคม.
  16. พิลาล พิฬาล : (นปุ.) เกลือที่บุคคลยังดินในที่ใกล้ทะเลให้สุกทำขึ้น, เกลือสะตุ. เกลือสินเธาว์ ก็ว่า.
  17. มุณฺฑา : (อิต.) ผักโหมหลวง, ชะเอม, คันทรง. คันทรงมี ๒ ชนิด เป็นต้นไม้ขนาดเล็กดอกสีเหลืองใช้ทำยา อีกชนิดหนึ่งเป็นไม้เถา ขึ้นตามป่าในที่ดินทรายใกล้ทะเล. สีหฬ เป็น มุพฺพา.
  18. สนฺนิกฏฐ : (ปุ.) ความใกล้.
  19. สมนนฺตร : ค. ใกล้ที่สุด
  20. สมุปคจฺฉติ : ก. เข้าไปใกล้
  21. สมุปคมน : นป. การเข้าไปใกล้
  22. สสนฺทนา : อิต. การเทียบเคียงกัน
  23. สามุทฺท : (นปุ.) เกลือที่ได้จากพื้นที่ใกล้ทะเล. วิ. สมุทฺทภูมิยํ อวฎฺฐตํ ลฺทธํ สามุทฺทํ. ณ ปัจ.
  24. สาย : (ปุ.) เย็น (เวลาใกล้ค่ำ), เวลาเย็น. วิ. สายติ ทินํ อวสายตีติ สาโย. สา อวสาเน, โย. สายนฺโต วา ทินนฺตํ กโรนฺโต อยตีติ สาโย. ส. สาย.
  25. อจฺจาสนฺน : ค. ใกล้มาก, จวนเจียน
  26. อชฺฌุเปติ : ก. เข้าไปหา, เข้าไปใกล้
  27. อนฺเวติ : ก. ติดตามไป, ไปตาม, ไปใกล้
  28. อนุตีร, อนุตีเร : ก. วิ. ใกล้ฝั่ง, ริมฝั่ง, ตามฝั่ง
  29. อนุปกฏฺฐ : ค. ไม่เข้าไปใกล้
  30. อนุปคมฺม : อิต. ไม่เข้าไปใกล้, เลี่ยงไป
  31. อนุปนิรส : ค. ไม่มีเหตุใกล้ชิด, ไม่มีความแน่วแน่
  32. อนุปาย : ป. การไม่เข้าไปใกล้; อุบายที่ผิด
  33. อนุเปติ : ก. เข้าไปหา, เข้าไปใกล้
  34. อปิ : (อัพ. อุปสรรค)ใกล้, บน, ข้างบน.
  35. อปิกณฺณ : (นปุ.) ใกล้หู, ที่ใกล้แห่งหู, ที่ใกล้หู.วิ.กณฺณสฺสสมีปํอปิกณฺณํ.
  36. อภฺยาส : (วิ.) ใกล้, เกลือบ
  37. อภินิสีทติ : ก. นั่งใกล้, นั่งข้างๆ, นั่งทับ
  38. อภิเนติ : ก. นำไปใกล้, พาไป
  39. อภิสาเรติ : ก. ให้เข้าไปใกล้ ; ตามรังควาน ; ติเตียน
  40. อมฺห : (ปุ. อิต.) ฉัน, ข้า, กู, ฯลฯ.คำแทนตัวภิกษุแปลว่าอาตมภาพ, อาตมา, รุป.ลูกพูดกับพ่อแม่แปลว่าลูก, หนู.หญิงพูดกับคนใกล้ชิดหรือคุ้นเคยหรือ คนรักแปลว่าหนูชายพูดกับหญิงที่รักแปลว่าเรียม, พี่. อมฺหศัพท์เป็นคำแทนตัวผู้พูดบาลีไวยากรณ์เป็นบุรุษที่๓ไวยากรณ์ไทยเป็นบุรุษที่๑.
  41. อสนฺติเก : สัต. ในที่ไม่ใกล้, ในที่มิใช่สำนัก
  42. อารกา : (อัพ. นิบาต) ไกล, ห่างเหิน, ห่างไกล, ในที่ไกล, แปลว่า ใกล้ก็มี แล้วแต่เนื้อความของประโยคนั้น ๆ.
  43. อาสนฺนกมฺม : (นปุ.) กรรมที่ทำเมื่อใกล้จุติ, การระลึกถึงสิ่งที่ดีหรือไม่ดีในเวลาใกล้จุติ ชื่อว่า อาสันนกรรม อีกอย่างหนึ่ง การทำดี หรือการทำไม่ดีเวลาใกล้ตาย ชื่อว่า อาสันนกรรม วิ. อาสนฺเน อนุสฺสริตํ อาสนฺนํ, อาสนฺเน วา กตํ อาสนฺนํ. อาสนฺนํ กมฺมํ อาสนฺนกมฺมํ.
  44. อาสีทติ : ก. นั่งใกล้, นั่งชิด; ดูถูก, ด่าว่า
  45. อาหาว : (ปุ.) ที่ดื่มน้ำของสัตว์, รางน้ำใกล้สระ. วิ. อาหูยนฺเต ปสโว อตฺร ปานาเยติ อาหาโว. อาปุพฺโพ, หุ หู วา สตฺนายํ, โณ.
  46. อิฏฺฐาภฺยาส : (วิ.) ใกล้สิ่งพอใจ, ฯลฯ.
  47. อุปก : ค. เข้าไปใกล้, จวน, ใกล้เข้า
  48. อุปกฺกม : ป. การก้าวเข้าไปใกล้, การดำเนินการ
  49. อุปกฺกมติ : ก. ก้าวเข้าไปใกล้, พยายาม, ลงมือทำ
  50. อุปกฺกมน : นป. การเข้าไปใกล้, การต่อสู้, การเริ่มต้น
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-220

(0.0438 sec)