Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สอง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สอง, 233 found, display 201-233
  1. อธิกมาส : (ปุ.) เดือนเกิน, เดือนที่เพิ่มเข้ามา, อธิกมาสคือเดือนที่เพิ่มเข้ามา ปีนั้นมี ๑๓เดือน คือมีเดือน ๘ สองหน เรียกว่า เดือน ๘ต้น หรือ เดือน ๘ แรก กับเดือน ๘ หลัง.
  2. อนฺตรส : ป. ระหว่างไหล่ทั้งสอง, อก
  3. อนฺวทฺธมาส, อนฺวฑฺฒมาส : ก.วิ. สองครั้งต่อเดือน; ทุกครึ่งเดือน
  4. อภิโต : (อัพ. นิบาต) ริม, ใกล้, เฉพาะหน้า, ทั้งสองข้าง, นิบาตลงในอรรถสัตตมี.อภิฯและรูปฯ.
  5. อมฺหาก : ส. แห่งเราทั้งสอง
  6. อรณิมตน : นป. การสีไม้สองอันให้เกิดไฟ
  7. อสฺสฏฺฐอสฺสตฺถ : (ปุ.) ไม้โพธิ์, ต้นโพธิ์.วิ.อสฺสํสพฺพญฺญุตญาณํติฏฺฐติเอตฺถาติ อสฺสตฺโถ.อภิฯ อสฺส+ฐิตแปลงฐิตเป็นตฺถฏีกาอภิฯอสฺส+ฐซึ่งสำเร็จรูปมาจากฐาธาตุอปัจ.แปลงฐ เป็น ถแล้วแปลงถเป็นตฺถศัพท์ต้นแปลงตฺถ เป็นฏฺฐ.ถ้าตั้งฐา, ถาธาตุก็แปลงฐเป็นฏฺฐ, ถเป็นตฺถหรือตั้งอาปุพฺโพ, สาสฺอนุสิฏฺฐิ-โตสเนสุ.ลงอปัจ. ประจำหมวดธาตุและตปัจ.แปลงตเป็นฏฺฐ, ตฺถรัสสะอาทั้งสองเป็นอ.
  8. อาตตวิตต : นป. กลองขึงหนังสองหน้า
  9. อาทาส : (ปุ.) แว่น, กระจก, กระจกเงา, กระจกส่องหน้า. คันฉ่องชื่อเครื่องส่องหน้าหรือกระจกเงา มีกรอบสองชั้นเอนเข้าเอนออกได้ตั้งอยู่บนโต๊ะเครื่องแป้ง.วิ.อาทิสฺสเตอสฺมินฺติอาทาโส.อาปุพฺโพ, ทิสฺเปกฺขเณ, โณ.ส. อาทรฺศน.
  10. อาลมฺพร : (ปุ.) กลองเทศ, เปิงมางชื่อกลองชนิดหนึ่งขึงหนังทั้งสองหน้าสำหรับตีเข้ากับปี่พาทย์.วิ.อาลมฺพอิติสทฺทายเตติอาลมฺพโร.รปัจ.
  11. อินฺทธนุ : (นปุ.) รุ้ง, สายรุ้ง, รุ้งกินน้ำ. วิ. อินฺทสฺส สกฺกสฺส ธนุ อินฺทธนุ. ส. อินฺทฺร ธนุ. ไทยนำคำนี้มาใช้ตามรูปสันสกฤตว่า อนิทรธนู (ออกเสียงว่า อินทะนู) เป็นชื่อ ของเครื่องประดับบ่าทั้งสองข้าง เป็นผ้า เนื้อ เดียวกับเสื้อ เย็บติดกับเสื้อ รูปเรียวเล็กน้อย ด้านทางคอมีรูสำหรับร้อยลูกกระดุม อีกอย่างหนึ่ง ทำเป็นธนูแข็งติดเครื่องหมายยศทั้งสองข้าง. และเป็นชื่อของลายขอบ ที่เป็นกระหนก.
  12. อุทฺทโลมิ : ป. เครื่องลาดมีชายทั้งสองข้าง
  13. อุทฺทโลมี : (ปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์มีชายสอง ข้าง. วิ. อุทิตํ ทฺวีสุ โลมํ ทสา ยสฺสา สา อุทฺทโลมี. อิสฺสตฺตํ, ทฺวิตฺตํ. เป็น อุทฺทโลมิ อุทฺธโลมี บ้าง.
  14. อุทฺธพาหุทฺวยุมฺมาน : (นปุ.) วา (วัดชั่วสอง แขน).
  15. อุทฺธรณ : (นปุ.) การยกขึ้น, การรื้อขึ้น, ความยกขึ้น, ความรื้อขึ้น. ไทยใช้คำ อุทธรณ์ หมายถึงการฟ้องร้องต่อศาลที่สอง (ศาล อุทธรณ์) เพื่อขอร้องให้ศาลรื้อฟื้นเรื่องขึ้น พิจารณาและตัดสินใหม่. อุปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, ยุ. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ. ส. อุทฺธรณ.
  16. อุปชฺช : (ปุ.) ภพอันสัตว์เข้าถึงไม่มีระหว่างคั่น, ภพที่สอง, ภพหน้า. อุปปพฺโพ, ปทฺ คติยํ, อ. แปลง ท เป็น ช แล้วแปลงเป็น ชฺช.
  17. อุภ : (วิ.) สอง, ทั้งสอง. ส. อุภ.
  18. อุภโต : (อัพ. นิบาต) สองข้าง, สองฝ่าย, สองอย่าง.
  19. อุภโตทณฺฑกจ : นป. เลื่อยที่มีฟันสองด้าน
  20. อุภโตปญฺญตฺติ : (อิต.) บัญญัติสองฝ่าย คือ บัญญัติสำหรับภิกษุและภิกษุณี.
  21. อุภโตพฺยญฺชนก : (วิ.) มีเพศสองอย่าง คือทั้ง เพศชาย และเพศหญิงอยู่ในบุคคลคนเดียว กัน. วิ. อุภโตพฺยญฺชน มสฺส อตฺถีติ อุภโตพฺยญฺชน โก. ก สกัด ฉ. ภินนาธิกรณพหุพ. อุภโต ปวตฺตํ พฺยญชนํ ยสฺสอตฺถีติ อุภโตพฺยญชนโก. ไตร. ๔ / ๑๘๐.
  22. อุภโตภาควิมุตฺต : ค. ผู้หลุดพ้นแล้วโดยส่วนสอง คือโดยเจโตวิมุติและปัญญาวิมุติ
  23. อุภโตสงฺฆ : ป. สงฆ์สองฝ่าย คือ ภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์
  24. อุภย : (วิ.) ทั้งสอง วิ. อุโภ อํสา อสฺส อุภยํ. อุภศัพท์ อย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๔๙. ส. อุภย.
  25. อุภยตฺถ : ก. วิ. ในที่ทั้งสอง, ในกรณีทั้งสอง
  26. อุภยตฺถ อุภยตฺร : (อัพ. นิบาต) ใน...ทั้งสอง. ส. อุภยตฺร.
  27. อุโภ : ค. ทั้งสอง
  28. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  29. เอกกทุก : (นปุ.) หมวดหนึ่งและหมวดสอง.
  30. เอกโยชนทฺวิโยชน : (นปุ.) โยชน์หนึ่งหรือ โยชน์สอง, หนึ่งโยชน์หรือสองโยชน์. วิ. เอกโยชนํ วา ทฺวิโยชนํ วา เอกโยชนทฺวิ โยชนานิ. ปฐมาพหุพ. หรือ วิกัปปสมาส รูปฯ ๓๔๑.
  31. เอกโยชนทฺวิโยชนมตฺต : (วิ.) มีโยชน์หนึ่ง หรือ โยชน์สองเป็นประมาณ, มีโยชน์หนึ่ง และโยชน์สองเป็นประมาณ.
  32. เอฬคล : (ปุ.) ชุมเห็ด มีสองชนิด ชุมเห็ดไทย ใบเล็ก ชุมเห็ดเทศใบใหญ่ มีรสเบื่อเมา เป็นสมุนไพร. วิ. เอฬคํ ททฺทุ ลุนาตีติ เอฬคโล. เอฬคปุพฺโพ, ลา เฉทเน, อ.
  33. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-233]

(0.0212 sec)