Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ผลา , then ผล, ผละ, ผลา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ผลา, 270 found, display 101-150
  1. กิริยวาท : (ปุ.) บุคคลผู้กล่าวว่า อ. กรรมอัน บุคคลทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, บุคคลผู้มี ลัทธิเป็นเครื่องกล่าวว่ากรรมชื่อว่าอัน บุคคลทำ, วาทะว่าเป็นอันทำ, กิริยวาทะ (ผู้เชื่อว่าผลของกรรมมีอยู่).
  2. กิริยาจิตฺต : นป. จิตที่เป็นเพียงกิริยาคือไม่จัดลงไปแน่นอนว่า ดีหรือชั่ว, จิตที่ไม่มีผล
  3. กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
  4. กึปกฺก, กิมฺปกฺก : นป. ผลกิมปักกะ, ผลไม้ชนิดหนึ่งซึ่งมีพิษ
  5. กุสลวิปาก : ป. กุศลวิบาก, ผลแห่งกรรมดี
  6. กุสลาภิสนฺท : ป. วิบากเป็นแดนไหลออกแห่งกุศล, ผลแห่งกุศลธรรม, ห้วงบุญ
  7. เกสิก : ค. (ผลมะม่วง) มีไคล, เข้าไคล
  8. โกลมตฺตี : ค. มีขนาดเท่าผลกระเบา, มีขนาดเท่าผลพุทรา
  9. โกลสมฺปาก : ค. ซึ่งให้สุกกับด้วย (น้ำคั้น) ผลพุทรา, ซึ่งเคี่ยวหรือกวนกับ (น้ำคั้น) ผลพุทรา
  10. เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
  11. โขลก : (นปุ.) หม้อ, ไห, กระถาง, หมวดทหาร จอมปลวก, ผลหมาก.
  12. คทฺทภณฺฑ : (ปุ.) มะสัง ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง คทฺรภณฺฑปฺปมาณผลตาย คทฺทภณฺโฑ. ลบ ร ซ้อน ทฺ.
  13. ควิ : ป. เครือเถาคล้ายต้นไม้ยืนต้น, ในคำว่า ควิปฺผล = ผลควิ
  14. ฆฏิกา : (อิต.) ลิ่ม, ไม้หึ่ง ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง โดยโยนไม้ท่อนสั้นๆ ขึ้นไป แล้วใช้ไม้ อีกอันหนึ่งตี ใช้ผลมะนาวโยนขึ้นไป แล้ว ตีด้วยมือก็ได้, ชั่วโมง.
  15. จนฺทน : (ปุ. นปุ.) จันทน์ชื่อต้นไม้มีดอกผล และแก่นมีกลิ่นหอม, ต้นจันทน์, ไม้จันทน์, แก่นจันทน์. วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมงฺคิตาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺตํ สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺทนํ. จทิ หิาทเน, ยุ. ส. จนฺทน.
  16. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  17. ชมฺพว : (นปุ.) ผลชมพู่, ผลหว้า. วิ. ชมฺพุยา ผลํ ชมฺพวํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. พฤทธิ์ อู เป็น อว โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๒๙.
  18. ชมฺพุ (พู) ปกฺก : นป. ผลชมพูสุก, ผลหว้าสุก
  19. ชมฺพุ (พู) เปสี : ป. เปลือกผลหว้า
  20. ชมฺพู : (อิต.)ผลชมพู่,ผลหว้า,ต้นชมพู่, ต้นหว้า , ไม้ชมพู่,ไม้หว้า.เป็นชามพู ก็มี ส.ชมฺพู.
  21. ชมฺภ : ป. ฟัน; ผลมะนาว; อาหาร; กอง
  22. ชมฺภีร : ๑. ป. ต้นส้มหรือมะนาว; ๒. นป. ผลส้ม
  23. ชหติ, ชหาติ : ก. ละ, เลิก, ทอดทิ้ง, ผละหนี
  24. ชามฺพว : (นปุ.) ผลชมพู่, ผลหว้า. วิ. ชมฺพุยา ผลํ ชามฺพวํ. ณ ปัจ.
  25. ชาลก : (นปุ.) ดอกเพิ่งผลิ, ผลเพิ่งผลิ, ดอก เพิ่งจะผลิผล. ชลฺ ธญฺเญ, โณ, สกตฺเถ โก.
  26. ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
  27. ญาย : (วิ.) แนะนำ, สั่ง, ควร, สมควร, ถูก, ถูกต้อง, ชอบ, สมเหตุ, สมผล, ยุกติ (ควรชอบ).
  28. ฐาน : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นที่อันเขาตั้ง, เป็นที่ ยืน, เป็นที่อันเขายืน. วิ. ติฏฺฐติ เอตฺถาติ ฐานํ. ติฏฺฐิยเต เอตฺถาติ วา ฐานํ. เป็นที่ตั้ง แห่งผล วิ. ติฏฺฐติ ผลํ เอตฺถาติ ฐานํ. เหตุ, มูลเค้า. ฐา คตินิวตฺติยํ, ยุ.
  29. ตกฺกล : (นปุ.) หมาก, กระวาน พรรณไม้ชนิด หนึ่ง ในจำพวกขิง ข่า ใช้ผลปรุงอาหาร และทำยา, ยาง, ยางไม้, ยางรัก. ตกฺกฺ รุกฺขสิเลเส อโล รูปฯ ๖๕๙.
  30. ตาปสตรุ : (ปุ.) ต้นสำโรง, เพราะดาบสเอา ผลมาสุมเอาน้ำมันใช้ประโยชน์ จึงชื่อว่า ตาปสตรุ ต้นไม้เป็นประโยชน์แก่ดาบส ต้นจำปา ก็แปล.
  31. ตาลฏฺฐิก : นป. ผลตาล, เมล็ดตาล
  32. ตาลปกฺก : นป. ผลตาล, ลูกตาล
  33. ติตฺตก : (ปุ.) กระดอม, เทพชาลี, ขี้กา. ทั้ง ๓ ชนิดนี้เป็นไม้เลื้อย ผลมีรสขม ใช้ทำยา ไทย. ติตฺตรสตาย ติตฺตโก. ก สกัด.
  34. ตีรณ ตีรน : (วิ.) ตรวจตรา,ตริตรอง,เทียบ ทาน ( หาเหตุผล). หาเหตุผล, สอบสวน, พิจาร, พิจารณา,ตัดสิน, วัด ( สอบขนาด หรือปริมาณของสิ่งนั้นๆ). ตีรฺ กมฺมสาม ตฺถิเย, ยุ.
  35. ทกฺขิณา : (อิต.) ทักขิณา ทักษิณา ชื่อทาน อันบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมแล้ว จึงให้ กมฺมผลํ สทฺทหิตฺวา ทาตพฺพทานํ ทกฺขิณา ชื่อทานเพื่อผลอันเลิศ ชื่อทาน สมบัติอันเจริญ ชื่อทานอันทายกทายิกา บำเพ็ญอุทิศผลให้ผู้ล่วงลับไปแล้ว, ของ ทำบุญ, ใต้, ทิศใต้, เบื้องขวา, ทางขวา, ข้างขวา, ด้านขวา, ด้านใต้. วิ. ทกฺขนฺติ โภคสมฺปทาทีหิ ยาย สา ทกฺขิณา. ทกฺขฺ วุฑฺฒิยํ, อิโณ. เวสฯ ๔๕๔ วิ. ทกฺขนฺติ วหนกมฺเม อทนฺธตาย สิงฺฆํ คจฺฉนฺตีติ ทักขิณา. ต ปัจ. แปลงเป็น อีณ รัสสะ. ส. ทกฺษิณา.
  36. ทนฺตสฏฺฐ : ป., นป. ไม้มะนาว; ผลมะนาว
  37. ทฺวงฺคุลเกส : (วิ.) มีผลสององคุลี (๒นิ้ว).
  38. ทาลิกา : อิต. ผลไม้จำพวกแตงชนิดหนึ่ง
  39. ทิฏฺฐธมฺมเวทนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอัน... พึง รู้ (เสวย) ในธรรมอัน...เห็นแล้ว, กรรมให้ผลในภพนี้, กรรมให้ผลในปัจจุบัน, กรรมให้ผลทันตาเห็น, กรรมให้ผลเห็น ทันตา.
  40. ทุกฺขวิปาก : ค. มีวิบากเป็นทุกข์, มีทุกข์เป็นผล
  41. ทุกฺวิปาก : (วิ.) มีทุกข์เป็นผล, มีทุกข์เป็นวิบาก.
  42. เทสปญฺญตฺติ : (อิต.) บัญญัติของท้องถิ่น, เทส+ปญฺญตฺติ, บัญญัติของเทศบาล, เทสปาล+ปญฺญตฺติ. เทศบัญญัติ คือ กฎหมายของเทศบาล มีผลบังคับอย่างเดียวกันกับกฎหมาย แต่ใช้บังคับเฉพาะ ของเทศบาลนั้นๆ.
  43. โทวิล : ค. (ผลไม้) ซึ่งเริ่มออกผล
  44. ธนาคม : (ปุ.) การมาแห่งทรัพย์, การมาแห่ง กำไร, กำไร (ผลที่เกิดจากทุนที่ลงไป). วิ. ธนานํ สมฺปตฺตกาเล อาคโม ธนาคโม.
  45. ธมฺมปฏิรูป : (ปุ.) ธรรมเทียม ธรรมไม่แท้ ซึ่งแฝงเข้ามาปนกับธรรมแท้ เป็นผลของการกระทำของผู้ไม่หวังดีแก่พระ ศาสนา หรือของคนผู้หวังแต่ประโยชน์ ของตนหรือพรรคพวกของตน.
  46. นตฺถิกทิฏฺธิ : (อิต.) ความเห็นว่าบุญและบาป ไม่มี วิ. นตฺถิกํ ปุญฺญปาปํ อิติ ทิฏฺฐ นตฺถิกทิฏฺฐ. นัตถิกทิฏฐิ เป็นมิจฉาทิฏฐิอย่างหนึ่ง มีความเห็นปฏิเสธความดีหรือความชั่วที่คนทำแล้วว่าไม่มีผลแก่ผู้ทำ.
  47. นตฺถิกวาท : (ปุ.) วาทะว่า อ. ทานอันบุคคลให้แล้วชื่อว่าไม่มีผล, วาทะว่าทานอันบุคคล ให้แล้วไม่มีผล.
  48. นย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไป วิ. นยติ เอเตนาติ นโย. ภาวะอัน... ย่อมนำไป วิ. นียตีติ นโย. การนำ, การนำไป, การดำเนินไป, การแนะนำ, การสั่ง, คำสั่ง, ความไป, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, ความควร, ความสมควร, ความชอบ, ความถูกต้อง, ความสมเหตุสมผล, ความสมเหตุผล, ความคาดคะเน, อาการ, อุบาย, เล่ห์เหลี่ยม, วิธี, ทาง, แบบ, แบบอย่าง, นัย ( ข้อความข้อเค้า เค้าความใจความ เนื้อความ). วิ. นยนํ ปวตตนํ คมนํ วา นโย. นิ นี นย. วา นยเน, อ. ส. นย, นาย.
  49. นารงฺค : (ปุ.) ตะโก, มะเกลือ, มะแว้ง, มะสัง, หมากหนาม, ต้นส้ม, ผลส้ม. วิ. นารํ วุจฺจติ นีรํ, ตํ คจฺฉตีติ นารงฺโค. ส. นารงฺค
  50. นิทาน : (นปุ.) เหตุเป็นเครื่องมอบให้ซึ่งผล, เหตุเป็นแดนมอบให้ซึ่งผล, เหตุอันเป็น มูลเค้า, เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, ต้นเหตุ, เรื่องเดิม, เรื่อง. วิ. นิทียเต นิจฺฉียเต อเนเนติ นิทานํ. นิทฺทาติ ผลนฺติ วา นิทานํ นิปุพฺโพ, ทา ทาเน, ย. ส. นิทาน.
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-270

(0.0306 sec)