Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สิ่งกีดขวาง, กีดขวาง, สิ่ง , then กีดขวาง, สง, สงกดขวาง, สิ่ง, สิ่งกีดขวาง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สิ่งกีดขวาง, 277 found, display 201-250
  1. สิเลส : (ปุ.) การกอด, การกอดรัด, การสวมกอด, การรวมกัน, การร่วมสมพาส (ร่วมประเวณี), การติดต่อ, การติดต่อกัน, การข้อง, การข้องอยู่, การเกี่ยวข้อง, ยาง, ยางไม้, ยางเหนียว, ตัง (ยางไม้ที่ผสมกับสิ่งอื่นแล้วทำให้เหนียว สำหรับดักนกเป็นต้น). สิลิสฺ อาลิงฺคเน, อ, ยุ.
  2. สิเลสน : (นปุ.) การกอด, การกอดรัด, การสวมกอด, การรวมกัน, การร่วมสมพาส (ร่วมประเวณี), การติดต่อ, การติดต่อกัน, การข้อง, การข้องอยู่, การเกี่ยวข้อง, ยาง, ยางไม้, ยางเหนียว, ตัง (ยางไม้ที่ผสมกับสิ่งอื่นแล้วทำให้เหนียว สำหรับดักนกเป็นต้น). สิลิสฺ อาลิงฺคเน, อ, ยุ.
  3. สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
  4. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  5. สุทสฺสี : (ปุ.) สุทัสสี ชื่อรูปพรหมชั้นที่ ๑๕ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของสุทัสสีพรหม ชื่อพรหมผู้เป็นสิ่งต่าง ๆ ได้โดยความสะดวก วิ. สุเขน ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสี ชื่อพรหมผู้บริบูรณ์ดีในการเห็นมากยิ่งกว่าสุทัสสพรหม.
  6. เสฎฐ : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลปรารถนา, ฯลฯ, สิ่งอันบุคคลปรารถนา, ฯลฯ, ทรัพย์. สิสฺ อิจฺฉายํ, โต, ตสฺส ฎฺโฐ, สฺโลโป, อิสฺเส.
  7. เสฎฺฐ : (ปุ.) คนผู้มีสิ่งอันบุคคลปรารถนา, คนมีทรัพย์, เศรษฐี. วิ. เสฎฺฐํ อสฺส อตฺถีติ เสฎฺฐ. อี ปัจ.
  8. เสยฺยถีห : (อัพ. นิบาต) แล เป็น ปทปูรณะบ้าง ลงอรรถว่า อ. สิ่งนี้ (อิทํ วตฺถุ) คืออะไร (เสยฺยถา) บ้าง, อย่างไรนี้ บ้าง.
  9. หตฺถสิกฺขา : (อิต.) การศึกษาวิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศึกษา คือวิชาเกี่ยวกับการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆด้วยมือ. วิ. หตฺถพทฺธวิชฺชาย สิกฺขา หตฺถสิกฺขา. ลบ พทฺธวิชฺชา.
  10. หตฺถสิปฺป : (นปุ.) วิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศิลป์ คือวิชาเกี่ยวกับการใช้มือทำสิ่งต่าง ๆ หัตถศิลป์ ไทยใช้ในความหมายว่า การช่างทำด้วยมือ.
  11. หิริโกปีน : นป. สิ่งที่ยังหิริให้กำเริบ, สิ่งที่ทำให้เกิดความละอาย
  12. เหตุ : (ปุ.) มูลเค้า, เค้ามูล, ข้อความ, เรื่องราว, เหตุ คือ สิ่งหรือเรื่องที่ทำให้เกิดผล. วิ. หิโณติ ปริณมติ การิยรูปตฺนติ เหตุ. หิ คติยํ, ตุ. หิโณติ ผล เมตฺถาติ วา เหตุหิ ปติฎฺฐายํ. หิโณติ ผลํ เอเตนาติ วา เหตุ. หิ ปวตฺตเน. ส. เหตุ.
  13. อกองฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าวเป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร.อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  14. อก องฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าว เป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆ ของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร. อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  15. อกิจฺจการ : ค. ผู้ไม่ทำตามหน้าที่ของตน, ผู้ทำสิ่งที่ไม่ควรทำ,ไม่มีผล (ยา).
  16. อคฺฆาปนิย : นป. สิ่งที่ตีราคาได้
  17. อคท : (ปุ. นปุ.) สิ่งที่เป็นปฏิปักษ์แก่โรค, ยา, ยาประเสริฐ. วิ. โค วุจฺจติ ทุกฺขํ, ตํเทติ คโท, โรโค; น วิชฺชเต คโท ยสฺมึ โสอคโท. ส. อคท.
  18. องฺคสมฺภาร : ป. ส่วนประกอบของสิ่งต่าง ๆ
  19. อจริม : (วิ.) ไม่หลัง, ไม่ใช่สิ่งสุดท้าย.
  20. อณิ : (อิต.) ลิ่ม.สลัก (สิ่งที่สลักปลายเพลาไม่ให้ลูกล้อหลุด), ขอบ, ที่สุด.อณฺคติยํอิ. เป็นอณี อาณิ อาณี ก็มี. ส. อณิ. อาณิ.
  21. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  22. อตฺถวาที : ค. ผู้มีปกติกล่าวแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์
  23. อติปาต : (ปุ.) การก้าวล่วง, การล่วงละเมิด, การยังสิ่งมีชีวิตให้ตกล่วงไป, การยังชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป, การฆ่า, การฆ่าสัตว์.
  24. อทินฺนาทาน : (นปุ.) การถือเอาซึ่งสิ่งของอันเจ้าของไม่ให้แล้ว, การถือเอาซึ่งสิ่งอันเจ้าของไม่ได้ให้แล้ว, การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แก่ตน, อทินนาทาน (การลักทรัพย์การขโมย).วิ.อทินฺนสฺสอาทานํอทินฺนาทานํ.อถวา, อทินฺนํอาทียนฺติเอเตนาติอทินฺนาทานํ.
  25. อธิจิณฺณ : ค. สิ่งที่น่าชอบ, สิ่งที่น่ารัก
  26. อนิล : (ปุ.) สภาพเป็นเครื่องเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตอากาศ, ลม.วิ.อนติ อเนนาติ อนิโล.อนฺปาณเน, อิโล.ส.อนิล.
  27. อนุตีร : นป. สิ่งที่อยู่ตามฝั่ง
  28. อนุวาตปฏิวาต : (นปุ.) ที่เป็นไปตามซึ่งลมและที่เป็นไปทวนซึ่งลม, สิ่งเป็นไปตามซึ่งลมและสิ่งเป็นไปทวนแก่ลม, สิ่งตามลมและสิ่งทวนลม.
  29. อนูปม : ค. ไม่มีสิ่งเปรียบ, หาที่เปรียบมิได้
  30. อเนก : (วิ.) มิใช่อันเดียว, มิใช่ชนิดเดียว, มิใช่สิ่งเดียว, มิใช่ส่วนเดียว, มิใช่หนึ่ง, มิใช่น้อย, ไม่น้อย, มาก, มากมาย, นับไม่ได้.ส. อเนก.
  31. อปตฺถิย : ค. สิ่งที่ไม่พึงปรารถนา, ไม่มีทาง
  32. อปฺปฏิม : ค. ไม่มีที่เปรียบ, หาสิ่งเปรียบมิได้
  33. อปฺปฏิวาน : ค. ซึ่งไม่ถอยกลับ, อันไม่มีสิ่งใดขัดขวาง, ซึ่งไม่มีอุปสรรค
  34. อปฺปฏิวานิ (ณิ) ตา : อิต. ความไม่มีอุปสรรค, ความไม่มีสิ่งขัดขวาง
  35. อปรปจฺจย, อปรปฺปจฺจย : ค. ไม่อาศัยสิ่งอื่น
  36. อมชฺช : นป. หน่อ, ตุ่ม, ช่อ, สิ่งที่มิใช่น้ำเมา
  37. อมม : ค. ไม่ยึดถือสิ่งใดว่าเป็นของของตน, ไม่เข้าข้างตัว
  38. อรูปกายิก : ค. ซึ่งเกี่ยวกับสิ่งที่ไม่มีรูป
  39. อวโรธน : นป. การกีดขวาง, อุปสรรค ; ความผิด
  40. อวเสสก : นป., ค. สิ่งที่เหลือลง, ส่วนเหลือ, เศษ
  41. อสทิส : ค. ไม่เหมือนกัน, ไม่มีสิ่งเปรียบ
  42. อสปฺปายเสวน : (นปุ.) การเสพของอันไม่เป็นสัปปายะ, การเสวนะกับสิ่งที่เป็นอันตรายแก่การปฏิบัติ, ของแสลง.
  43. อสฺสาชาเนยฺย : (ปุ.) ม้าผู้อาจในอันรู้ซึ่งเหตุพลันม้าผู้อาจในความรู้ซึ่งเหตุและสิ่งมิใช่เหตุโดยยิ่ง, ม้าอาชาไนย.
  44. อสุภกถา : อิต. กถาอันว่าด้วยความไม่สะอาด, ถ้อยคำพรรณนาถึงสิ่งที่น่าเกลียด
  45. อาจม : (ปุ. นปุ.?) สิ่งที่ควรล้าง, สิ่งที่ควรชำระ, ขี้.อาจมุ โธวเน, อ.ส.อาจม.
  46. อาทยุปลทฺธิ : (อิต.) ความรู้สิ่งที่เกิดก่อน, ความรู้เรื่องที่เกิดก่อน, ความรู้เรื่องปฐมสัตว์, ปฐมสัตย์วัตถุ.
  47. อานิ : (นปุ.) สิ่งอันบุคคลพึงได้, ผล.อาปุพฺโพ, นิปาปเน, อิ.
  48. อายุ : (ปุ. นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องเจริญแห่งสัมปยุตธรรม, ความเป็นไป, ชีวิต, ชิวิติน-ทรีย์, ชนมพรรษา, ชันษา, อายุ(เวลาที่ดำรงชีวิตอยู่เวลาชั่วชีวิตของสิ่งนั้นๆ).วิ.เอนฺติสตฺตาเอเตนาติอายุ.อิคติยํ, ณุ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยุมิสฺสนคตีสุ, อ. รูปฯ๖๓๕.ส. อายุษฺอายุสฺ.
  49. อารมฺมณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, ธรรมชาติเป็นที่เหนี่ยวของจิต, ธรรมชาตเป็นที่มารื่นรมย์, ธรรมชาตเป็นที่ยินดีของจิต, เครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, เครื่องยึดหน่วงแห่งจิต, ความคิด, ความรู้สึก, เหตุ, โคจร, นิสัยใจคอ ?, อารมณ์(ความเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่งๆธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้จิตรู้สึกสิ่งที่จิตรู้).วิ.อาคนฺตวาอาภุโสวาจิตฺตเจตสิกาธมฺมารมนฺติเอตฺถาติอารมฺมณํ.อาปุพฺโพ, รมฺรมเณ, ยุ
  50. อารห : นป. สิ่งที่สมควร, สิ่งที่เหมาะสม
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-277

(0.0464 sec)