Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทุกข์ร้อน, ทุกข์, ร้อน , then ทกข, ทุกข, ทุกข์, ทุกข์ร้อน, รอน, ร้อน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทุกข์ร้อน, 280 found, display 201-250
  1. อติทุกฺข : ค. ทุกข์ยิ่ง, ลำบากมาก
  2. อติสร : ค. มีความทุกข์ยิ่ง ; แล่นเลยไป
  3. อติหีน : ค. เลวมาก, จนยิ่ง, เดือดร้อน
  4. อติอุณฺห : (วิ.) ร้อนยี่ง, ร้อนนัก, ร้อนมาก.
  5. อทุกฺขมสุข : นป. ความไม่ทุกข์ไม่สุข, ความเป็นกลางๆ, อุเบกขา
  6. อทุกฺขมสุขา : (อิต.) ความไม่ทุกข์และความไม่สุข, อุเบกขา (ไม่ทุกข์และไม่สุข), อุเบกขาเวทนา.วิ.อทุกฺขาจสาอสุขาเจติ อทุกฺขมสุขา.
  7. อนฆ : (วิ.) ไม่มีความชั่ว, ไม่มีความทุกข์, ไม่มีความวิบัติ, ไม่มีความฉิบหาย.น+อฆ.
  8. อนฺตคู : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งที่สุด, ผู้ชนะความทุกข์.
  9. อนนุตาปิย : (นปุ.) กรรมมิใช่กรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อนในภายหลัง.
  10. อนยพฺยสน : (นปุ.) ความฉิบหายไม่ใช่ความเจริญและทุกข์อันส่ายเสียซึ่งสุขให้พินาศ, ความไม่เจริญและความทุกข์อันยังสุขให้พินาศ. วิ. อนโย จ พฺยสนํ จาติ อนยพฺสนํ.
  11. อนิฆ : ค. ไม่มีทุกข์, ไม่มีความคับแค้นใจ
  12. อนีฆ : (วิ.) ไม่มีทุกข์, ไม่มีความยาก, ไม่มีความยากแค้น.
  13. อนุกฺกฎฺฐิต : กิต. ไม่เดือดแล้ว, ไม่ร้อนแล้ว
  14. อนุฏฺฐุภ : (นปุ.) ความเดือดร้อนภายหลัง, ความเดือดร้อนในภายหลัง, ความเดือดร้อน, ความรำคาญ.
  15. อนุตปฺปติ : ก. เร่าร้อน, เดือดร้อน
  16. อนุตาป : ป. ความเร่าร้อน, ความเดือดร้อน, ความรำคาญใจ
  17. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  18. อปณฺณก : (วิ.) ไม่ผิด (ไม่ให้เกิดความเดือดร้อนใจเมื่อปลายมือ), ถูก, ชอบ, แน่แท้, แท้จริง.วิ.วิรุทฺธโวหาเรนนปณาเมตีติอปณฺณโกนปุพฺโพ, ปณฺวฺยวหารตฺถุตีสุ, ณฺวุ.
  19. อปฺปสมารมฺภ : ค. มีความทุกข์, มีความลำบาก
  20. อปฺปาตงฺก : ค. มีความลำบากน้อย, ซึ่งเดือดร้อนนิดหน่อย
  21. อปายสมุทฺท : ป. มหาสมุทรแห่งความทุกข์
  22. อผาสุก : (นปุ.) ทุกข์มิใช่ความสำราญ, ความทุกข์มิใช่ความสำราญ, ความไม่สำราญ.
  23. อพฺภุณฺห : (วิ.) ร้อนยิ่ง, ร้อนนัก.
  24. อภิตตฺต : กิต. ร้อนยิ่ง, เดือดพล่าน, เผา, เหือดแห้งแล้ว
  25. อภิตปติ, อภิตปฺปติ : ก. ไหม้, เผา, ส่องแสง, เร่าร้อน, เดือดร้อน
  26. อภิตาป : ป. ความร้อนยิ่ง, ความแผดเผา
  27. อลคทฺท : (ปุ.) งูพิษ, งูมีพิษอันอาจ (พิษกล้า), งูเลื้อยไว.วิ.อรํสีฆํคจฺฉตีติอลคทฺโท.อรํปุพฺโพ, คมฺคติยํ, โท, นิคฺคหิตโลโป, รสฺสลตฺตํ, มสฺสทตฺตญฺจ.ผู้ให้ซึ่งทุกข์เพียงพอวิ. โค วุจฺจติทุกฺขํ, ตํเทตีติคโท, วิสํ, อลํปริปุณฺณํคทํเอตสฺสาติอลคทฺโท
  28. อวฺยถ : ค. ไม่ลำบาก, ไม่เดือดร้อน
  29. อวา : อิต. อันตราย, ความทุกข์
  30. อวิจิอวีจิ : (ปุ. อิต.) อเวจีชื่อนรกขุมใหญ่ขุมที่๘.วิ.อคฺคิชาเลหิจทุกฺเขหิจสตฺเตหิจนฺตถิเอตฺถวีจิอนฺตรนฺติอวีจิ(ไม่ว่างเว้นจากเปลวไฟทุกข์และสัตว์คือมีเปลวไฟทุกข์และสัตว์ลอดกาล).นตฺถิวีจิเอตฺถาติวาอวีจิ.อคฺคิชาลานิวาทุกฺขเวทนานํวาสตฺตานํวานตฺถิวีจิอนฺตรเมตฺถาติวาอวีจิ.
  31. อวิปฺปฏิสาร : ป. ความไม่วิปฏิสาร, ความไม่เดือดร้อน
  32. อสนฺตตฺต : ค. ไม่ถูกทำให้ร้อน, ไม่เร่าร้อน
  33. อสนฺตาปน : นป. การไม่ถูกทำให้ร้อน, การไม่ถูกเผา, การไม่ถูกทรมาน
  34. อสาต : ๑. นป. ความทุกข์, ความเจ็บปวด ; ๒. ค. ไม่เป็นที่พอใจ, ไม่สบอารมณ์
  35. อาคาฬฺห : ค. เผ็ดร้อน, แข็งกระด้าง
  36. อาตตฺต : กิต. เผาแล้ว, ร้อนแล้ว, ส่องแสงแล้ว
  37. อาตาป : (ปุ.) ความเพียรเป็นเครื่องยังกิเลสให้เร่าร้อน, ความร้อน, ความยังกิเลสให้ร้อน, ความเพียรเผากิเลส, ความขยัน, ความเข้มแข็ง, ความเพียร. วิ.อาสมนฺตโตตาเปตีติอาตาโป.
  38. อาตาเปติ : ก. ทำให้ร้อน, ทรมานตัวให้ลำบาก
  39. อาตุร : (วิ.) เร่าร้อน, เดือดร้อน, ระส่าย, กระ-สับกระส่าย, เจ็บ, ทนทุกขเวทนา (ทั้งกายและใจ), มีโรค.ส.อาตุร.
  40. อาตุรียติ : ก. อาดูร, ป่วย, เดือดร้อน
  41. อาทิตฺต : กิต. ถูกเผาแล้ว, ถูกทำให้ร้อนแล้ว
  42. อาทิตฺตปริยายสุตฺต : นป. อาทิตตปริยายสูตร, พระสูตรที่ตรัสเปรียบราคะ, โทสะ, โมหะว่าเป็นของร้อน
  43. อาทีน : (นปุ.) ทุกข์, โทษ.อาปุพฺโพ, ทีขเย, โน, อีโนวา.ทีนฺทุคฺคตภาเววา, อ.
  44. อาทีนว : (ปุ.) โทษอันยังทุกข์ให้เป็นไปโดยยิ่ง, โทษเครื่องถึงทุกข์, โทษ.วิ.อา ภุโสทีนํวายติคมยตีตฺยาทีนโว.อาทีนปุพฺโพ, วิคมเน, อ.อาทีนํวาติอธิคจฺฉติเอเตนาติวาอาทีนโว.อาทีนปุพฺโพ, วาอาทาเน, อ.หรือตั้งอาปุพฺโพ, ทีนฺทุคฺคตภาเว, โว. ส.อาทีนว.
  45. อานนฺทน : (นปุ.) ความเพลิดเพลินโดยยิ่ง, ฯลฯกิริยาดี, การไต่ถามทุกข์สุข.ยุปัจ.
  46. อาป : (ปุ.) ธรรมชาตอันเอิบอาบไปสู่ที่นั้น ๆ, ธรรมชาตอันเอิบอาบไปทุกแห่ง, น้ำ.วิ.ตํตํฐานํวิสรตีติอาโป.อปฺพฺยาปเนปาปเนวา, อ.อโปติสพฺพเตรฺติวาอาโปธรรมชาตอัน....ดื่มวิ.ปาปิยตีติอาโป.อาปุพฺโพ, ปา ปาเน, อ.ธรรมชาติที่แห้งเพราะความร้อนวิ. อาปียติ โสสียตีติอาโปอาปุพฺโพ, ปา โสสเน, อ.ที่อยู่แห่งน้ำ.ณปัจ.ราคาทิตัท.ส. อาป
  47. อาปตติ : ก. ตกไป, หล่นไป, ล้มลง, รีบร้อน
  48. อาปา, อาวา : อิต. ความทุกข์, อันตราย, เคราะห์กรรม
  49. อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
  50. อุฑฺฒ : (ปุ.) อูฐ, ความร้อน. อุสฺ ฑาเห, โฒ, ฒสฺส ฑฺฒตฺตํ, สฺโลโป. รูปฯ ๖๕๓. ส. อุษฺฏฺร.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-280

(0.0430 sec)