Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กระแสเสียง, เสียง, กระแส , then กรส, กระแส, กระแสเสียง, สยง, เสียง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กระแสเสียง, 299 found, display 201-250
  1. สรภญฺญ : (นปุ.) ความเป็นคืออันกล่าวด้วยเสียง, ธรรมอันบุคคลพึงกล่าวด้วยเสียง, สรภัญญะ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสวดอย่างหนึ่ง. สร+ภณ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. หรือ สร+ภณฺ+ณฺย ปัจ. นามกิตก์.
  2. สสฺสิรีก : ค. มีชื่อเสียง
  3. สาธุการ : (ปุ.) เสียงเครื่องกระทำว่าสาธุ, การเปล่งวาจาว่าชอบ, การเปล่งวาจาว่าชอบแล้ว, การแสดงความยินดี, การแสดงความยินดีด้วย, การแสดงความเห็นชอบด้วย.
  4. สิโก : (ปุ.) เกียรติ, ยศ, เกียรติยศ, ชื่อเสียง, ความชื่นชม, ความสรรเสริฐ, คำสรรเสริญ, ฉันท์ (มีปฐยาวัตเป็นต้น). โศลก ชื่อคำประพันธ์สันสกฤต ๔ บาท เป็น ๑ บท เรียกว่า โศลก ๑ อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของคำสำหรับสวดสรรเสริญ. สิโลกฺ สงฺฆาต, อ.
  5. สิริ : (อิต.) กระแสน้ำ. สรฺ คติยํ, อิ. ส. สริ น้ำตก.
  6. สิโลก : ป.โศลก; ชื่อเสียง, ฉันท์, สรรเสริญ
  7. สีฆโสต : ค. มีกระแสเชี่ยว
  8. สีหนาท : (ปุ.) อันบันลือเพียงดังว่าอันบันลือแห่งราชสีห์, การบันลือเพียงดังว่าการบันลือแห่งราชสีห์, การเปล่งเสียงองอาจ, การพูดอย่างองอาจ.
  9. สุต : (วิ.) ฟัง, สดับ, ได้ยิน, ได้ฟัง, ไหล, ไหลไป, เปียก, ชุ่ม. สุ สวเน, โต. เบียดเบียน, ผูก, จำ, สะสม, ติดต่อ, ละเอียด, ป่น. สุ อภิสเว. ขวนขวาย, แสวงหา, ปรากฏ, มีชื่อเสียง. สุ คติวุทีสุ.
  10. สุรุสุรุ : (วิ.) ซูด ๆ. ซูด ๆ คือเสียงที่เกิดจากการซดน้ำแกง ผู้มีมารยาทดีย่อมไม่ซดน้ำแกงให้ดังซูด ๆ ทางพุทธศาสนาถือว่าเป็นการเสียกิริยา.
  11. สุสฺสรตา : อิต. ความเป็นผู้มีเสียงเพราะ
  12. เสลน : (นปุ.) เสียง, เสียงโห่ร้องของนักรบ (โยธสีหนาท). สีลฺ อุปธารเณ อุจฺเจ วา. ยุ. แปลง อี เป็น เอ. การร้องแสดงความยินดี ก็แปล.
  13. โสต : (วิ.) อันยังกิเลสให้แห้ง วิ. กิเลเส โสสาเปตีติ โสโต. สุสฺ โสสเน, โณ, อุสฺโส, สสฺส โต. อันกำจัดกิเลส วิ. สุนาติ กิเลเส หึสตีติ โสโต. สุ คติยํ, โต. ถึงซึ่งพระนิพพานชื่อว่าโสตะ วิ. สวติ โสตํ นาม นิพฺพานํ คจฺฉตีติ โสโต. ถึงซึ่งพระกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่าโสตะ วิ. สวติ โสตํ นาม นิพพานโสตํ คจฺฉตีติ โสโต.
  14. โสตาปตฺติ : (อิต.) การถึงซึ่งธรรมอันยังกิเลสให้แห้ง, ความถึงซึ่งธรรมอันยังกิเลสให้แห้ง, การถึงซึ่งกระแสเป็นที่ไปสู่พระนิพพาน, การถึงซึ่งกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่าโสตะ, ความบรรลุซึ่งกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่า โสตะ.
  15. โสตาปตฺติยงฺค : (วิ.) อันเป็นองค์แห่งการบรรลุกระแสพระนิพพาน.
  16. โสตาปตฺติยงฺคธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นองค์แห่งการบรรลุกระแสพระนิพพาน, ธรรมอันเป็นเหตุยังบุคคลผู้ปฏิบัติให้ถึงกระแสแห่งพระนิพพาน. ธรรมอันยังผู้ปฏิบัติให้บรรลุกระแสแห่งพระนิพพาน ได้แก่ วุฑฒิธรรม ๔ ไตร ๑๑.
  17. โสตาปนฺน : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งกระแส, บรรลุแล้ว ซึ่งกระแส.
  18. โสตายตน : (นปุ.) ที่เป็นต่อคือ หู, เครื่องติดต่อคือหู, อายตนะคือหู ประสาทหู (หมายเอาประสาทรับรู้เสียง).
  19. เหสา : (อิต.) เหสา (ฮี้) เสียงร้องของม้า วิ. เหสนํ เหสา. เหสฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ, อิตฺถิยํ อา. เห อิติ เสติ ปวตฺตตีติ วา เหสา. เส คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. เหษา.
  20. อกฺขวิธิ : (ปุ.) แบบแห่งอักษร, แบบอย่างแห่งอักษร, กฎเกณฑ์แห่งอักษร, อักขวิธีตำราว่าด้วยวิธีเขียนและออกเสียงอ่านหนังสือให้ถูกต้อง.
  21. อคฺคญฺญู : ค. ผู้เลิศ, ผู้สูงสุด, ผู้มีชื่อเสียง
  22. อโฆส : (วิ.) มีเสียงไม่ก้อง, มีเสียงไม่ดัง.
  23. อจฺฉราสทฺท : ป. เสียงดีดนิ้วมือ
  24. อฏฺฏสฺสร : ป. เสียงโอดครวญ
  25. อฏฺฏหาส : (วิ.) หัวเราะเสียงดัง, หัวเราะมาก
  26. อฑฺฒสร : (ปุ.) เสียงกึ่ง, เสียงครึ่ง, (กึ่งเสียงครึ่งเสียง), อัฒสระ(เสียงกึ่งสระของสระสั้น).พยัญชนะที่เป็นอัฒสระคือยรลวสหฬสันสกฤติอัฒสระมี๔ตัวคือยรลว.ส.อรฺธสร.
  27. อณอณก : (ปุ.) การออกเสียง, การอ่าน, การท่อง, การสวด, การสาธยาย.อณฺสทฺเท, ศัพท์หลังกสกัด.
  28. อณ อณก : (ปุ.) การออกเสียง, การอ่าน, การท่อง, การสวด, การสาธยาย. อณฺ สทฺเท, ศัพท์หลัง ก สกัด.
  29. อติวิสฺสุต : ค. มีชื่อเสียงมาก
  30. อนุจฺจาริต : ค. ไม่ออกเสียง, ไม่ถูกยกขึ้น
  31. อนุรว : ป. เสียงกังวาน, เสียงระงม, ร้องคราง
  32. อนุรวนา : อิต. การร้องระงม, การส่งเสียงกังวาน, การร้องคราง
  33. อนุโสต : ป. กระแส, เบื้องต่ำ
  34. อนุโสต : ก. วิ. ตามกระแส
  35. อนุโสตคามี : ค. ผู้ไปตามกระแส
  36. อปญฺญาต : (วิ.) ไม่มีชื่อเสียง.
  37. อปากฏ : ค. ไม่ปรากฏ, ไม่มีชื่อเสียง, ไม่เด่นชัด
  38. อปากฏตา : อิต. ความไม่มีชื่อเสียง
  39. อพฺภุทีเรติ : ก. เปล่งเสียงออก, กล่าว
  40. อพฺยตฺตสทฺท : (วิ.) ร้อง, บันลือ, แผดเสียง.
  41. อภิคชฺชติ : ก. ร้องแผดเสียง, ตะโกน, คำราม
  42. อภิคชฺชี : ค. ซึ่งส่งเสียง, ซึ่งร้อง, ซึ่งจู๋จี๋
  43. อภิญฺญาต : (วิ.) ปรากฏ, มีชื่อเสียง, ชำนาญ.
  44. อภิตฺถนติ, - นยติ, - เนติ : ก. คำรามร้อง, แผดเสียง, กระหึ่ม
  45. อภินทติ : ก. บันลือ, แผดเสียง, คำราม
  46. อภินทิต : กิต ; นป. เสียงบันลือ, เสียงคำราม
  47. อภิปฺปวาเทติ : ก. บันลือ, แผดเสียง
  48. อภิรวติ : ก. ร้องตะโกน, ส่งเสียงลั่น, ร่ำร้อง
  49. อภิรุต : นป. เสียง, เสียงร้อง
  50. อภิสสนา : อิต. เสียงร้อง (ของม้า)
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-299

(0.0370 sec)