Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เสียงหัวเราะ, หัวเราะ, เสียง , then สยง, สยงหวรา, เสียง, เสียงหัวเราะ, หัวเราะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เสียงหัวเราะ, 306 found, display 151-200
  1. นีรว : ค. ไม่มีเสียง
  2. ปชคฺฆติ : ก. หัวเราะดัง
  3. ปฏิโฆส : ป. เสียงสะท้อน
  4. ปฏิรว : ป. การร้องตะโกน, เสียงคำราม, เสียงร้องตอบ
  5. ปถิต : (วิ.) ปรากฏ, มีชื่อเสียง. ปถฺ วิขฺยาเต, โต, อิอาคโม.
  6. ปทสทฺท : ป. เสียงเท้า, เสียงย่างเท้า
  7. ปนาท : ป. การบันลือลั่น, เสียงโห่ร้องด้วยความยินดี
  8. ปนาเทติ : ก. บันลือลั่น, แผดเสียง, ตะโกน, โห่ร้อง (ด้วยความยินดี)
  9. ปริหสติ : ก. หัวเราะ, เย้ยหยัน
  10. ปริหาส : ป. การรื่นเริง, การหัวเราะ, การเย้ยหยัน
  11. ปวชฺชติ : ก. ออกเสียง, สวด,ร้อง
  12. ปวชฺชน : นป. การออกเสียง, การเล่นดนตรี, การทำให้เกิดเสียงดนตรี
  13. ปสิฏฺฐ : ค. ปรากฏ, มีชื่อเสียงโด่งดัง
  14. ปหสฺสติ : ก. หัวเราะ, ร่าเริง
  15. ปหาส : ป. การหัวเราะ, การร่าเริง, การยินดีเพลิดเพลิน
  16. ปหาสติ : ก. หัวเราะ, ร่าเริง, ยินดี
  17. ปหาเสติ : ก. ทำให้หัวเราะ, ทำให้ร่าเริง, ทำให้ยินดี
  18. ปากฏ : ค. ปรากฏแล้ว, รู้แล้ว, มีชื่อเสียง; ซึ่งคุ้มครองไม่ได้; สามัญ; เลว
  19. ปาณิสฺสร : ป. เสียงปรบมือ
  20. พกฺกุล : ป., นป. ปีศาจ, การเปล่งเสียงร้องอย่างน่ากลัว
  21. พทฺธราว : ป. เสียงร้องของสัตว์ที่ติดบ่วง
  22. พพฺภรพ : ป. การทำเสียงให้ดัง; การทำให้ก้อง, การทำเสียงดังพะพะ เช่น เสียงทุบและเสียงกระทบเป็นต้น
  23. พฺยางฺค : (นปุ.) ส่วนของเสียง, หน่วยของเสียงหนึ่งๆ, พยางค์ คือ เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่งๆ เช่น ชโน มี ๒ พยางค์ กตฺวา มี ๒ พยางค์ ปุริโส มี ๓ พยางค์ เป็นต้น.
  24. พฺรหฺมสร : (ปุ.) เสียงราวกะว่าเสียงแห่งพรหม.
  25. พฺรหฺมสฺสร : ป. เสียงเพียงดังเสียงแห่งพรหม; เสียงนุ่มนวลแจ่มใสไพเราะ
  26. พินฺทุสฺสร : ๑. ป. เสียงกลมกล่อม, เสียงไพเราะ ; ๒. ค. มีเสียงกลมกล่อม, มีเสียงไพเราะ
  27. โพธกร : (ปุ.) คนทำซึ่งการปลุก, คนให้คนอื่นรู้ด้วยเสียงดาล, คนนั่งยามตีทุ่มโมง. วิ. โพธํ ปโพธนํ กโรตีติ โพธกโร. โพธ-ปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ.
  28. ภณน : (นปุ.) การออกเสียง, การกล่าว, การพูด, การบอก. ภณฺ สทฺเท, อ, ยุ . ศัพท์ที่ ๒ แปลง ณ เป็น น.
  29. ภณ ภน : (ปุ.?) การออกเสียง, การกล่าว, การพูด, การบอก. ภณฺ สทฺเท, อ, ยุ . ศัพท์ที่ ๒ แปลง ณ เป็น น.
  30. เภรณฺฑก : นป. เสียงร้องของหมาจิ้งจอก
  31. มญฺชุสฺสร : ค. เสียงไพเราะ
  32. มธุรสฺสร : ค. มีเสียงไพเราะ
  33. มหฑฺฑ : (ปุ.) เสียงใหญ่, เสียงกึกก้อง.
  34. มหาหาส : (ปุ.) การหัวเราะใหญ่, การหัวเราะหนักหนา.
  35. เมฆนาท : ป.เสียงฟ้าร้อง, เสียงฟ้าคำราม
  36. ยส : (ปุ.) ชื่อเสียง, ความยิ่ง, ความเด่น, ความยกย่อง, ความยกย่องนับถือ, เกียรติ, ยศ. วิ. ยชติ เอเตนาติ ยโส. ยชฺ เทวปูชายํ, อ, ชสฺสโส. สพฺพตฺถ ยาตีติ วา ยโส. ยา คมเน, โส, รสฺโส.
  37. ยสฺสสิมนฺตุ, ยสสฺสี, ยสวนฺตุ : ค. มียศ, มีชื่อเสียง, ผู้รุ่งเรือง
  38. ยโสธร : ค. ผู้มียศ, ผู้มีชื่อเสียง, ผู้ทรงไว้ซึ่งยศ
  39. ยโสธรา : (อิต.) พระนางยโสธรา วิ. ยโส วุจฺจติ ปริวาโร กิตฺติ จ, เต ธาเรตีติ ยโสธรา (ผู้ทรงไว้ซึ่งบริวารและชื่อเสียง). ยส+ธรฺ+อ ปัจ. แปลง อ ที่ ส เป็น โอ.
  40. รโชหรณ : (นปุ.) การนำเสียงซึ่งธุลี, ผ้าอันนำเสียซึ่งธุลี.
  41. รว : ป. เสียง, เสียงครวญ
  42. รวติ : ก. ร้อง, แผดเสียง
  43. รวน : นป. การร้อง, การแผดเสียง
  44. รสิต : นป. เสียงฟ้าร้อง
  45. ราว : ป. เสียง, เสียงร้อง
  46. รุต : นป. เสียงร้องของสัตว์
  47. ลย : ป. มาตราเวลา = ๑๐ ขณะ ; เสียงรองประสานกับเสียงดนตรี ; จังหวะ
  48. วรงฺคนา : อิต. หญิงมีชื่อเสียง
  49. วิกฺกนฺตติ : ก. ร้องเสียงดัง, ตะโกน
  50. วิสฺสุต : กิต. มีชื่อเสียง, ปรากฏแล้ว, ชำนาญแล้ว
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-306

(0.0406 sec)