Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทันตกรรม, ทันต, กรรม , then กมฺม, กรรม, ทนต, ทนฺต, ทันต, ทันตกรรม, ทันตะ, ทันตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทันตกรรม, 317 found, display 101-150
  1. กมฺมทฺวาร : นป. กรรมทวาร, ทางเกิดของกรรม
  2. กมฺมนานตฺต : นป. สภาวกรรมมีอย่างต่างๆ กัน
  3. กมฺมนิเกตฺวา : ค. มีกรรมเป็นที่พำนักอาศัย
  4. กมฺมนิพนฺธน : ค. อันเกี่ยวเนื่องด้วยกรรม
  5. กมฺมนิมิตฺต : นป. กรรมนิมิต, เครื่องหมายแห่งการกระทำ
  6. กมฺมปจฺจย : ๑. ป. กรรมปัจจัย, ปัจจัยของกรรม ; ๒. มีกรรมเป็นเครื่องสนับสนุน
  7. กมฺมปตฺต : ค. ผู้ถึงกรรม, (ภิกษุ) ผู้เข้ามาท่ามกลางสงฆ์ เพื่อทำสังฆกรรม
  8. กมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรม, ทางเกิดของ กรรม, คลองแห่งกรรม, กรรมอันเป็น คลอง, กรรมบถ ชื่อธรรมหมวดหนึ่งมี ๑๐ ข้อ มีทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล.
  9. กมฺมภว : (ปุ.) กรรมภพ ที่เกิดของกรรมทั้ง ฝ่ายกุศลและอกุศลที่เกิดของสัตว์ผู้มีกรรม ทั้งที่เป็นอกุศลจิต และโลกิยกุศลจิต. ปุญฺ ญา ภิสงฺขาโร อปุญญาภิสงฺขาโร อเนญชา ภิสงฺขาโร อยํ กมฺมภโว. ขุ. จู ไตร. ๓๐/๒๘๕.
  10. กมฺมรต, กมฺมราม : ค. ผู้ยินดีในกรรม, ผู้ยินดีในการงาน
  11. กมฺมลกฺขณ : ค. มีกรรมเป็นลักษณะ
  12. กมฺมวฏฏ : (นปุ.) ความวนด้วยอำนาจแห่ง กรรม, ความวนแห่งกรรม, การท่องเที่ยว ไปด้วยอำนาจแห่งกรรม, การท่องเที่ยวไป ด้วยอำนาจแห่งผลของกรรม, วนคือกรรม.
  13. กมฺมวฏฐาน : นป. การกำหนดกรรม, การเป็นไปตามกรรม
  14. กมฺมวตฺถุ : นป. เรื่องของกรรม
  15. กมฺมสจฺจ : ค. ซึ่งมีความเที่ยงตรงต่อกรรม, มีกรรมเป็นความจริง
  16. กมฺมสริกฺขก : ค. พึงเห็นสมด้วยกรรม, พึงเห็นเสมอด้วยกรรม
  17. กมฺมสริกฺขตา : อิต. ความเป็น คือ อันบิณฑิตพึงเห็นเสมอด้วยกรรม
  18. กมฺมสฺสกตา : (อิต.) ความที่แห่งสัตว์เป็นผู้มี กรรมเป็นของตน.
  19. กมฺมสฺสกตาญ าณ : (นปุ.) ความรู้ในความที่ แห่งสัตว์เป็นผู้มีกรรมเป็นของตน.
  20. กมฺมสฺสกตาสทฺธา : (อิต.) ความเชื่อว่าสัตว์มี กรรมเป็นของตน. ตา ปัจ. สกัด.
  21. กมฺมสฺสามี : ป. เจ้าของกรรม
  22. กมฺมโสจน : นป. ความเศร้าใจในกรรมชั่ว
  23. กมฺมาภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งคือกรรม, การปรุงแต่งขึ้นด้วยกรรม, การปรุงแต่ง ขึ้นด้วยอำนาจแห่งกรรม.
  24. กมฺมายูหน : นป. กองแห่งกรรม
  25. กมฺมารห : ค. อันควรแก่กรรม, ผู้ควรแก่กรรม
  26. กมฺมุปจย : ป. การสะสมกรรม, การก่อสร้างกรรม
  27. กากติตฺถา : อิต. กรรมที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญ
  28. กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
  29. กายทุจฺจริตาทิอกุสลกมฺมาภิรต : (วิ.) ผู้ยินดี ยิ่งแล้วด้วยกรรมมิใช่กุศลมีความประพฤติ ชั่วด้วยกาย เป็นต้น.
  30. กิจฺจ : (นปุ.) กรรมอัน...พึงทำ, กรรมอัน...ย่อม ทำ. วิ. กตฺตพฺพนฺติ กิจฺจํ. กริยเตติ วา กิจฺจํ. กรฺ กรเณ, ริจฺโจ. ที่ใช้เป็นกิริยาเป็น กิริยาคุมพากย์ได้.
  31. กิจฺจญ าณ : (นปุ.) ความรู้ซึ่งกรรมอัน...พึงทำ, ฯลฯ, กิจจญาณ ชื่อของญาณอย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่างของการเจริญอริยสัจ ๔ ได้แก่รู้ว่า ทุกข์เป็นของที่ควรกำหนดรู้ สมุทัยเป็น ของที่ควรจะ นิโรธ เป็นของที่ควรทำให้ แจ้ง มรรคเป็นของที่ควรทำให้เกิดมี.
  32. กิริยตา : อิต. ความเป็นกิริยา (อาการ), สภาพของกรรมที่สร้างขึ้น, การกระทำ
  33. กิริยวาท : (ปุ.) บุคคลผู้กล่าวว่า อ. กรรมอัน บุคคลทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, บุคคลผู้มี ลัทธิเป็นเครื่องกล่าวว่ากรรมชื่อว่าอัน บุคคลทำ, วาทะว่าเป็นอันทำ, กิริยวาทะ (ผู้เชื่อว่าผลของกรรมมีอยู่).
  34. กิริยวาที : (ปุ.) บุคคลผู้มีปกติกล่าวว่า อ. กรรมอันบุคคลทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ฯลฯ.
  35. กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
  36. กุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมอันเป็นกุศล, กรรมอันเป็นคลองอันเป็นกุศล, ทางแห่ง การสร้างความดี, กุศลกรรมบถ ชื่อ ธรรม สำหรับสร้างความดี มี ๑o อย่าง คือ กาย สจริต ๓ วจีสุจริต ๔ และมโนสุจริต ๓.
  37. กุสลวิปาก : ป. กุศลวิบาก, ผลแห่งกรรมดี
  38. โกปิน โกปีน : (นปุ.) ผ้าเปลือกไม้, ผ้าปิดของลับ, กรรมที่ไม่ควรทำ, ความลับ, ของลับ. มาตุคาโม ฉวสฺส มาสกรูปสฺส การณา โกปินํ ทสฺสติ. มาตุคาม แสดงของลับ เพราะเหตุปห่งทรัพย์ซึ่งเป็นดุจซากศพ. ไตร. ๓/๓๓.
  39. โกปีน : นป. ของลับ, อวัยวะสืบพันธุ์; กรรมอันไม่สมควร, เปลือกไม้, ใย, ผ้าขาวม้า
  40. ขชฺชติ : ก. (กรรมวาจกของขาทติ) อันเขาเคี้ยวกิน
  41. ขลิต : (นปุ.) กรรมอันพลาดพลั้งแล้ว, ความพลั้งพลาด.
  42. ขุรคฺค : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งกรรมอัน บุคคลพึงทำด้วยมีดโกน (ปลงผมเสร็จ), ขณะโกนผมเสร็จ, ขณะปลงผมเสร็จ. วิ. ขุเรน กตฺตพฺพกมฺมสฺส อคฺโค ขุรคฺโค.
  43. จตุโรปธิ : (ปุ.) กิเลสเป็นเครื่องยังทุกข์ให้เข้า ไปตั้งไว้สี่, อุปธิสี่. อุปธิ ๔ คือ ขันธ์ กาม กิเลส และกรรม.
  44. จิตฺตกมฺม : (นปุ.) การทำให้งาม, กรรมอันงาม, กรรมอันวิจิตร,จิตรกรรม.ไทยใช้จิตรกรรม ในความหมายว่า ศิลปการวาด เขียนศิลป การวาดภาพ ภาพเขียนที่สวยงาม.
  45. จุติจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเคลื่อนจากภพที่เกิด, จุติจิต เป็นชื่อของจิตดวงที่เคลื่อนจากภพ ที่เกิด แล้วเป็นปฏิสนธิจิตทันที ไม่มีจิต อื่นคั่น จะเกิดเป็นอะไรนั้น ก็แล้วแต่กรรม ที่ทำไว้.
  46. เฉทนก : ๑. นป. สิ่งที่ต้องตัดให้ถูกต้องตามวินัยกรรม, วิธีการตัดให้ถูกต้องตามวินัยกรรม ; ๒. ผู้ตัด, ผู้บั่น, ผู้ทอน, ผู้ฉีก
  47. ญตฺติจตุตฺถกมฺม : (นปุ.) กรรมมีญัตติเป็นที่สี่, การสวดประกาศมีญัตติเป็นที่สี่, ญัตติ จตุตถกรรม (กรรมอันทำด้วยตั้งญัตติแล้ว สวดอนุสาวนาสามหน).
  48. ญตฺติจตุตฺถกมฺมอุปสมฺปทา : (อิต.) การอุปสมบทด้วยกรรมวาจามีญัตติเป็นที่สี่.
  49. ญตฺติทุติยกมฺม : (นปุ.) กรรมมีวาจาครบสอง ทั้งญัตติ, ญัตติทุติยกรรม คือการสวด – ประกาศมีญัตติเป็นที่สอง กรรมอันทำด้วย ตั้งญัตติแล้วสวดอนุสาวนาหนเดียว.
  50. ตชฺชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ ภิกษุผู้อันสงฆ์จะต้องคุกคาม, ตัชนียกรรม เป็นชื่อการลงโทษอย่างหนึ่งตามพระวินัย ซึ่งสงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้มีความผิด ๓ ประการ คือ เป็นผู้ประพฤติไม่เหมาะสม คือ ๑ . ๑ มักทำการบาดหมาง ทะเลาะ – วิวาท ฯลฯ ๑ . ๒ เป็นพาลมีอาบัติมาก มีมรรยาท ไม่สมควร ๑ . ๓ คลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่ สมควร เป็นผู้มีศีลวิบัติ อาจารวิบัติ และ ทิฏฐิวิบัติ และ ๓. กล่าวติเตียน พระพุทธ พระธรรม หรือพระสงฆ์ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ ลงตัชนิยกรรมได้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัติติจตุตถกรรมวาจา ไตร. ๖/๓
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-317

(0.0444 sec)