Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทันตกรรม, ทันต, กรรม , then กมฺม, กรรม, ทนต, ทนฺต, ทันต, ทันตกรรม, ทันตะ, ทันตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทันตกรรม, 317 found, display 151-200
  1. ตณฺฑุลโหม : นป. การทำพลีกรรมด้วยข้าวสาร (คือการเอาข้าวสารเผาไฟบูชายัญ)
  2. เตลโหม : นป. การทำพลีกรรมด้วยน้ำมัน (คือการเอาน้ำมันราดไฟหรือจุดไฟบูชายัญ)
  3. ทณฺฑกกมฺม : (นปุ.) กรรมอัน... พึงทำด้วย อาชญา, กรรมคืออาชญา, การลงโทษ, การทำโทษ, การลงอาญา, การลงอาชญา, ทัณฑกรรม ( การลงโทษทางวินัย เช่น ให้กวาดลานวัด ตักน้ำรดต้นโพธิ์เป็นต้น ) . ส. ทณฺฑกรฺม.
  4. ทฺวยการี : ค. ผู้ทำกรรมทั้งสองอย่างคือ ทั้งกรรมดีและกรรมชั่ว
  5. ทุกฺกต : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, การทำ ชั่ว, ฯลฯ. วิ. นินฺทิตํ กรณ มสฺส ทุกกตํ. คำแปลแรก ต ปัจ. กิริยากิตก์ คำแปล หลังๆ เป็น ต ปัจ. ลง ภาวะ.
  6. ทุฏฺฐุลฺล : ค., นป. ชั่วหยาบ, หยาบโลน, ต่ำ, ทราม; กรรมชั่ว, คำพูดหยาบโลน
  7. ทุฏฺฐุลฺลาทุฏฺฐุลฺล : นป. กรรมทั้งที่ชั่วหยาบและที่ไม่ชั่วหยาบ
  8. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  9. นรก : (ปุ.) โลกอันหาความเจริญมิได้, โลกที่ ไม่มีความเจริญ. น บทหน้า ราช ธาตุใน ความเจริญ อ ปัจ. รัสสะ ปลง ช เป็น ก. เหว, นรก ชื่อสถานที่เป็นที่ลงโทษแก่ บุคคลผู้ที่ทำบาปเมื่อละร่างนี้ไปแล้ว ชื่อ สถานที่ที่คนชั่วไปเสวยกรรม. วิ อปุญฺเญ เนตีติ นรโก. นิ นี วา นเย, ณวุ. แปลง อิ หรือ อี เป็น อ และลง ร ที่สุดธาตุ หรือ ลง ร อาคม หรือตั้ง นร นเย, ณวุ. ส. นรก.
  10. นวกมฺมิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยกรรมใหม่, ผู้ ควบคุมการก่อสร้าง, ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง. วิ. นวกมฺเมน นยุตโต นวกมฺมิโก. กัจฯ และรูปฯ ลง ณิกปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ลงอิก ปัจ.
  11. นิคฺคติก : ค. มีเคราะห์กรรมร้าย, ซึ่งเคราะห์ร้าย, อันเลวร้าย, ซึ่งทุกข์ยาก
  12. นิคติ : อิต. เคราะห์กรรม, สถานะ, สภาวะ, ภาวะ, พฤติการณ์, ความประพฤติ
  13. นิปก : (วิ.) ผู้ยังกุศลกรรมให้สุกโดยไม่เหลือ (คือมีในตนให้สมบูรณ์), ปัญญาอัน ยังกุศลธรรมให้สุกโดยไม่เหลือ. วิ นิสฺเสสโต ปาเจติ กุสลธมฺเมติ นิปโก. นิปปุพฺโพ, ปจฺ ปาเก, อ, จสฺส โก.ผู้มี ปัญญาเป็นเครื่องรักษาซึ่งตนโดยไม่เหลือ, ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน,ผู้มีปัญญา รักษาตน, ผู้รักษาตนให้สิ้นจากปฏิปักษ์. นิปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.ผู้ยัง ปฏิปักษ์ให้สิ้น วิ.นิปยติปฏิกฺขนฺติ นิปโก. นิปุพฺโพ, เป โสสเน, อ, สกตเถ โก.ผู้มี ไหวพริบ,ผู้ฉลาด,ผู้รอบคอบ,ผู้มีปัญญา, ผู้มีปัญญาแจ่มแจ้ง,ผู้มีความรู้,ผู้มีความ ตรัสรู้,ผู้มีญาน, ผู้มีปัญญาทำลายกิเลส. ไตร. ๓๐/๒๑๐.
  14. นิยติ : (อิต.) โชคดีโชคร้าย, เคราะห์กรรม. วิ. สุภาสุภผลํ เนตีติ นิยติ. นิ ปาปุณเน, ติ. และ อ อาคมท้ายธาตุ.
  15. นิยสกมฺม : (นปุ.) นิยศกรรม นิยสกัม คือ การถอดยศ ทำด้วยวิธีญัตติจตุถกรรม. ไตร. ๖.
  16. นิหีนกมฺม : นป. กรรมทราม, การกระทำที่ต่ำทราม
  17. ปญฺจานนฺตริย : นป. อนันตริยกรรมห้า, กรรมหนักห้าประการ (ฆ่ามารดา, ฆ่าบิดา, ฆ่าพระอรหันต์, ทำพระโลหิตของพระพุทธเจ้าให้ห้อ, ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน)
  18. ปฏิสารณิยกมฺม : นป. ปฏิสารณียกรรม, กรรมเนื่องด้วยการลงโทษพระภิกษุผู้ทำความผิดต่อคฤหัสถ์โดยให้ไปขอขมาเขา
  19. ปพฺพาชนิยกมฺม : นป. ปัพพาชนียกรรม, กรรมที่สงฆ์กระทำแก่ภิกษุผู้ควรถูกขับไล่, การลงโทษด้วยการขับไล่จากอาวาส
  20. ปพฺพาชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำ แก่ภิกษุผู้อันสงฆ์พึงขับไล่, กรรมอันสงฆ์ พึงทำแก่ภิกษุผู้มีอธิกรณ์อันสงฆ์พึงขับไล่, การขับไล่, ปัพพาชนียกรรม ชื่อกิจที่สงฆ์ พึงทำแก่ภิกษุผู้ประทุษร้ายตระกูลหรือ ประพฤติลามกให้ออกไปเสียจากหมู่ (วัด) ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม. ไตร. ๖.
  21. ปรทารกมฺม : (นปุ.) กรรมคือการประพฤติ ล่วงซึ่งภรรยาของบุคคลอื่น, การประพฤติ ล่วงภรรยาของคนอื่น, การคบหาภรรยา ของผู้อื่น. คบหา หมายถึง การคบในทาง ชู้สาว.
  22. ปรามสน : (นปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  23. ปรามาส : (ปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  24. ปริกนฺต : ๑. กิต. (อันเขา) เฉือนแล้ว, ผ่าออกแล้ว; ๒. นป. กรรมที่กระทำด้วยกาย; การกระเสือกกระสนด้วยกาย
  25. ปาก : ป. การหุงต้ม; การทำให้สุก; ผลของกรรมอันสุกงอมเต็มที่
  26. ปาปกมฺม : นป. กรรมชั่ว, การกระทำที่ชั่วช้า
  27. ปาปกมฺมนฺต, ปาปกมฺมี, ปาปกร, ปาปการี : ค. มีกรรมชั่ว, มีการกระทำอันเลวทราม
  28. ปุพฺพกมฺม : (นปุ.) กรรมมีแล้วในกาลก่อน, กรรมที่ทำแล้วในกาลก่อน,กรรมในกาลก่อน, บุพพกรรม, บุพกรรม, บุรพกรรม (กรรมที่ทำไว้แต่ปางก่อน กรรมที่ทำไว้แต่ชาติก่อน).
  29. เปสการ : (ปุ.) บุคคลผู้กระทำซึ่งกรรม คือ อันส่งไป, บุคคลผู้ทำซึ่งการพุ่ง, ช่างทอ, ช่างหูก, ช่างทอหูก.
  30. ผลวิปาก : (ปุ.) ความสุกวิเศษแห่งผล, ความสุกวิเศษแห่งผลแห่งกรรม.
  31. พฺรหฺมลิขิต : (นปุ.) รอยเขียนของพระพรหม, พรหมลิขิต (เส้นชี้ชะตากรรมของคนซึ่งเป็นไปตามอำนาจของกรรม).
  32. พลิกมุม : (นปุ.) การทำการบูชา, การทำการเซ่น, เครื่องบูชา, เครื่องบูชาแห่งศาสนา, เครื่องเซ่น, เครื่องสังเวยเทวดา, เครื่องพลีกรรม, พลีกรรม (การบูชา พิธีบูชา).
  33. พลิการก : ค. ผู้กระทำพลีกรรม, ผู้ถวายเครื่องสังเวย
  34. พลิปฏิคฺคาหก : ค. ผู้รับเครื่องบูชา, ผู้รับพลีกรรม เช่น พวกพราหมณ์, ผู้เก็บภาษี
  35. ภาคเธยฺย : (นปุ.) กรรมดี, กรรมไม่ดี, โชคดี, โชคไม่ดี, โชคดีโชคร้าย, เคราะห์กรรม. วิ. อิฏฺฐานิฏฺฐวิปากภาโค ธึยติ เอตฺถาติ ภาคเธยฺยํ. ณฺย ปัจ.
  36. มโนทุจฺจริต : (นปุ.) กรรมอันบุคคลประพฤติชั่วแล้วด้วยใจ, การประพฤติชั่วด้วยใจ, ความประพฤติชั่วด้วยใจ, ความประพฤติชั่วทางใจ.
  37. มโนสสุจริต : (ปุ.) กรรมอันบุคคลประพฤติดีแล้วด้วยใจ, ฯลฯ. ดู มโนทุจฺจริต เทียบ.
  38. สีลพฺพตปรามาส : (ปุ.) การถือมั่นศีลและพรต, การยึดมั่นศีลและพรต, การจับต้องศีลหรือพรต, สีลัพพตปรามาส คือ ความเชื่อถือความศักดิ์สิทธิ์ด้วยเข้าใจว่ามีได้ด้วยศีลหรือวัตรปฏิบัติ เป็นการรักษาหรือบำเพ็ญพรตด้วยความเชื่อเรืองบันดาลไม่เชื่อกรรม เชื่อความขลัง.
  39. อกตปาปกมุม : (วิ.) มิใช่ผู้มีกรรมอันเป็นบาปอันทำแล้ว. นบุพ.กัม. มีวิเสสนุบุพ.กัม. และ ต.ตุล.เป็นท้อง.
  40. อกมฺมกิริยาอกมฺมกฺริยา : (อิต.) กิริยาไม่มีกรรม คือกิริยาที่ได้ความสมบรูณ์มิต้องมีกรรมคือผู้ถูกทำมารับ, กิริยาที่ไม่ต้องเรียกหากรรม
  41. อกิริยทิฏฐิ : (อิต.)ความเห็นว่ากรรมอันบุคคลทำแล้วไม่เป็นอันทำ. ความเห็นว่าบุญหรือบาปที่บุคคลทำแล้วไม่เป็นอันทำ คือเห็นว่าทำดีไม่ได้ดี ทำชั่วไม่ได้ชั่ว.
  42. อกิริยวาท : (วิ.) ผู้มีวาทะว่า อ. กรรมอันบุคคลทำแล้วไม่ชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีวาทะว่ากรรมอันบุคคลทำแล้วไม่ชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีลัทธิเป็นเครื่องกล่าวกรรมไม่ชื่อว่าอันบุคคลทำ, ฯลฯ.
  43. อกุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมมิใช่กุศล, ทางแห่งความชั่ว, อกุศลกรรมบถ มี ๑๐ คือกายทุจริต๓ วจีทุจริต๔ มโนทุจริต๓.
  44. อญฺชลิกรณียอญฺชลีกรณีบ : (วิ.) (สงฆ์)ผู้มีอัญชลึอันบุคคลพึงทำ.วิ. อญฺชลิกรณิโยยสฺส โส อญฺชลิกรณิโย. ฉ.ตุลอญฺชลิกรณิโย ยสฺมึ โส อญฺชลิกรณีโย.ส. ตุล. ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลกพึงทำ, ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ.วิ. อญฺชลิกมฺมํกรณํอญฺชลิกรณํ, กตฺตพฺพํอญฺชลิกรณํอรหตีติอญฺชลิกรณิโย.อียปัจ.ฐานตัท.ผู้ควรแก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกพึงกระทำ, ผู้ควรแก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ.วิ. กตฺตพฺพสฺสอญฺชลิกรณสฺสอรหตีติอญฺชลิกรณิโย.เป็นผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำวิ. กตฺตพฺพสฺสอญฺชลิกรณสฺส อนุจฺฉวิโกโหตีติอญฺชลิกรณิโย. แปลว่า เป็นผู้ควรแก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำโดยไม่หักวิภัติก็ได้. พระไตรปิฏกเป็นอญฺชลิกรณีโยแต่ในสังฆคุณที่ใช้ในบทสวดมนต์เป็นอญฺชลีกรณิโยพึงสวดให้ถูกต้องด้วย.
  45. อญฺชลิกรณีย อญฺชลีกรณีบ : (วิ.) (สงฆ์) ผู้มีอัญชลึอันบุคคลพึงทำ. วิ. อญฺชลิ กรณิโย ยสฺส โส อญฺชลิกรณิโย. ฉ.ตุล อญฺชลิกรณิโย ยสฺมึ โส อญฺชลิกรณีโย. ส. ตุล. ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลก พึงทำ, ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลก ทำ. วิ. อญฺชลิกมฺมํ กรณํ อญฺชลิกรณํ, กตฺตพฺพํ อญฺชลิกรณํ อรหตีติ อญฺชลิ กรณิโย. อียปัจ. ฐานตัท. ผู้ควรแก่อัญ ชลีกรรมอันสัตว์โลกพึงกระทำ, ผู้ควร แก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ. วิ. กตฺตพฺพสฺส อญฺชลิกรณสฺส อรหตีติ อญฺชลิกรณิโย. เป็นผู้ควรซึ่งอัญชลี กรรมอันสัตว์โลกทำ วิ. กตฺตพฺพสฺส อญฺชลิกรณสฺส อนุจฺฉวิโกโหตีติ อญฺชลิกรณิโย. แปลว่า เป็นผู้ควรแก่ อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ โดยไม่หัก วิภัติก็ได้. พระไตรปิฏกเป็น อญฺชลิกรณี โย แต่ในสังฆคุณที่ใช้ในบทสวดมนต์ เป็น อญฺชลีกรณิโย พึงสวดให้ถูกต้อง ด้วย.
  46. อตฺตวินิปาตกมฺม : (นปุ.) การยังตนให้ตกไปโดยไม่เหลือวิเศษกรรมคือการทำลายซึ่งตน, การฆ่าตัวตาย, อัตวินิบาตกรรม.
  47. อนตฺถตา : (อิต.) ความที่แห่งกรรมเป็นกรรมมิใช่ประโยชน์, ความเป็นแห่งกรรมมิใช่ประโยชน์.
  48. อนนุตาปิย : (นปุ.) กรรมมิใช่กรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อนในภายหลัง.
  49. อนนุรูป : (นปุ.) กรรมไม่เป็นไปตามซึ่งรูป.
  50. อนิจฺจกมฺม : (นปุ.) กรรมคือความไม่เที่ยง, ฯลฯ.ไทยอนิจกรรม ว่า ตายความตาย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-317

(0.0622 sec)