Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทันตกรรม, ทันต, กรรม , then กมฺม, กรรม, ทนต, ทนฺต, ทันต, ทันตกรรม, ทันตะ, ทันตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทันตกรรม, 317 found, display 201-250
  1. อนุสาวนา : (อิต.) อนุสาวนาชื่อคำสำหรับสวดในสังฆกรรมที่เป็นญัตติทุติยกรรมและญัตติจตุตถกรรม.
  2. อปราปรเวทนียกมฺม : (นปุ.) กรรมให้ผลในภพสืบ ๆคือให้ผลในภพต่อไปจากชาติหน้า.
  3. อาทิกมฺมิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยกรรมอันเป็นเบื้องต้น, ผู้ประกอบในกรรมอันเป็นเบื้องต้น.วิ.อาทิกมฺเมนอาทิกมฺเม วานิยุตฺโตอาทิกมฺมิโก.ณิกปัจ.ตรัต๎ยาทิตัท.
  4. อาปา, อาวา : อิต. ความทุกข์, อันตราย, เคราะห์กรรม
  5. อาลุลิก : (นปุ.) ความขุ่นมัว, กรรมอันขุ่นมัว. อาปุพฺโพ, ลุฬฺ มนฺถเน, อิ. แปลง ฬ เป็น ล ก สกัด.
  6. อาสนฺนกมฺม : (นปุ.) กรรมที่ทำเมื่อใกล้จุติ, การระลึกถึงสิ่งที่ดีหรือไม่ดีในเวลาใกล้จุติ ชื่อว่า อาสันนกรรม อีกอย่างหนึ่ง การทำดี หรือการทำไม่ดีเวลาใกล้ตาย ชื่อว่า อาสันนกรรม วิ. อาสนฺเน อนุสฺสริตํ อาสนฺนํ, อาสนฺเน วา กตํ อาสนฺนํ. อาสนฺนํ กมฺมํ อาสนฺนกมฺมํ.
  7. อินฺทคู : (วิ.) ผู้มีกรรม.
  8. อุกฺเขปนิยกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำ แก่ภิกษุผู้อันสงฆ์พึงยกขึ้น, การลงโทษ โดยยกเสียจากหมู่. อุกฺเขปนิยกรรม เป็น กรรมที่สงฆ์พึงทำแก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติแล้ว ไม่ยอมรับว่าเป็นอาบัติ และไม่ทำคืน (ไม่ ปลงอาบัติหรืออยู่กรรม) ด้วยการลงโทษ ยกเสียจากหมู่ คือ ตัดเสียชั่วคราว เป็น สังฆกรรมอันสงฆ์พึงทำด้วยวิธีญัติจตุตถ- กรรมวาจา. ไตร ๖/๑๓๔.
  9. อุกฺเขปนียกมฺม : นป. อุกเขปนียกรรม, กรรมคือการที่สงฆ์พึงลงโทษด้วยการยกภิกษุผู้ต้องอธิกรณ์ออกจากคณะ
  10. อุปถมฺภก อุปถมฺภกกมฺม : (นปุ.) อุปถัม- ภกกรรม (กรรมที่สนับสนุนส่งเสริม ชนกกรรม).
  11. อุปปชฺชเวทนียกมฺม : นป. กรรมที่ให้ผลในชาติหน้า
  12. อุปปาติก : (วิ.) (สัตว์) ผู้ลอยมาเกิด, เกิดขึ้น, ผุดเกิด, เกิดผุดขึ้น, อุปปาติกะ, โอปปาติกะ (เกิดเอง โดยอาศัยอดีตกรรม ไม่มีบิดา มารดา ได้แก่ เทวดา พรหม สัตว์นรก เปรต อสุรกาย).
  13. เอวรูป : (นปุ.) กรรมมีอย่างนี้เป็นรูป.
  14. โอทกนฺติก : ๑. นป. สถานที่ใกล้น้ำ, ที่ใกล้เคียง; ๒. ค. ผู้ชำระกรรมชั่วโดยมีน้ำเป็นที่สุด, ผู้อาบน้ำล้างบาป
  15. โอโนชน : นป. การแจกจ่าย, การมอบให้, วิภาคกรรม
  16. โอสารณา : (อิต.) โอสารณา ชื่อของวินัยกรรม อันสงฆ์ทำคือ : การเรียก (รับ) สามเณรผู้กล่าวติเตียนพระรัตนตรัย ถูกสงฆ์นาสนะผู้กลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว ให้เข้าหมู่ได้ โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีอปโลกนกรรม. การเรียกอุปสัมปทาเปกขะ ซึ่งได้รับการไล่เรียง (ซักซ้อม) อันตรายิกธรรม ที่นอกเขตประชุมสงฆ์ (ห่างจากสงฆ์) ๑๒ ศอกแล้ว ให้เข้าหมู่สงฆ์ได้โอสาร- ณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติกรรม. การหงายบาตรแก่คฤหัสถ์ผู้ประพฤติให้ร้ายแก่พระศาสดา (ศาสนา)ถูกสงฆ์คว่ำบาตรคือไม่คบ ไม่รับกิจนิมนต์ ไม่รับบิณฑบาต ภายหลังรู้สึกตนกลับ ประพฤติเรียบร้อยดีแล้ว โอสารณานี้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัตติทุติยกรรม. ๔. การยกโทษแก่ภิกษุผู้ประพฤติมิชอบ ซึ่งถูกสงฆ์ลงโทษด้วยตัชชนียกรรมผู้ กลับประพฤติดีแล้ว โอสารณานี้สงฆ์ ทำด้วยวิธีญัตติจตุตถกรรม.
  17. ทนฺตโปณ ทนฺตโปน : (ปุ.) ไม้ชำระฟัน, ฯลฯ. วิ. ทนฺเต ปุนาติ อเนนาติ ทนฺตโปโณ ทนฺตโปโน วา. ทนฺตปุพฺโพ, ปุ สุทฺธิกรเณ, ยุ.
  18. ทนฺตาวล : (ปุ.) ช้าง. ทนฺต อา บทหน้า วลฺ ธาตุในความเลี้ยง อ ปัจ. ส. ทนฺตาวล.
  19. กมฺมปติสฺสรณ : ค. ดู กมฺมปฏิสรณ
  20. กมฺมชาต : นป. สิ่งที่เกิดแต่การกระทำ
  21. กมฺมวิธิ : (ปุ.) แบบอย่างแห่งการทำ, วิธี ดำเนินการ, พิธีดำเนินการ. ส. กรฺมวิธิ.
  22. กมฺมสาทุตา : อิต. ความควรแก่การงาน, ความเหมาะสมแก่การงาน
  23. กมฺมสีล : ค. ผู้ทำการงานเป็นปกติ
  24. กมฺมหีน : ค. ผู้ว่างงาน, ผู้ไม่มีการงานทำ
  25. ทนฺตคีต : (นปุ.) การขับร้องด้วยฟัน, การผิวปาก.
  26. ทนฺตตา : อิต. ความเป็นผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ภาวะที่ได้รับการฝึกหัดอบรมแล้ว
  27. ทนฺตปนฺติ, ทนฺตปาฬิ : อิต. ถ่องแถวแห่งฟัน, ระเบียบแห่งฟัน
  28. ทนฺตโปณ : ป. ไม้สีฟัน, แปรงสีฟัน
  29. ทนฺตภาค : (ปุ.) กระพองช้าง ( ส่วนที่นูนเป็น ปุ่มสองข้างศีรษะช้าง). ตะพอง ก็เรียก.
  30. ทนฺตภาว : ป. ความเป็นผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ภาวะที่ได้รับการฝึกหัดอบรมแล้ว
  31. ทนฺตภูมิ : อิต. ภูมิแห่งบุคคลผู้มีตนอันฝึกฝนแล้ว, ระดับจิตของท่านผู้ฝึกฝนอบรมตนแล้ว, พระนิพพาน
  32. ทนฺตวกฺกลิก : ป. ชื่อนักบวชจำพวกหนึ่ง
  33. ทนฺตวาส : (ปุ.) ริมฝีปาก.
  34. ทนฺตวิกติ : อิต. เครื่องงาต่างชนิด, สีต่างๆ ที่ทำด้วยงา
  35. ทนฺตวิขาทน : นป. การเคี้ยวด้วยฟัน
  36. ทนฺตวิทสก : ค. ซึ่งเปิดเผยฟัน, (การหัวเราะ) จนเห็นฟัน
  37. ทนฺตสมฺปตฺติ : อิต. ความถึงพร้อมด้วยฟัน, ความถึงพร้อมแห่งฟัน, ความมีฟันเรียบร้อยสวยงาม
  38. ทนฺตสิร : (ปุ.) เหงือก.
  39. ทนฺตาวรณ : (นปุ.) ที่เป็นที่กั้นซึ่งฟัน, ริม ฝีปาก. วิ. ทนฺเต อาวรตีติ ทนฺตาวรณํ. ทนฺตปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, ยุ.
  40. ทนฺตี : (ปุ.) สัตว์มีเขี้ยว, สัตว์มีงา, ช้าง, ช้าง พลาย. ทนฺต+อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ส. ทนฺตินฺ.
  41. นาคทนฺต : (ปุ.) งาแห่งช้าง,งาช้าง.ส.นาค.ทนฺต.
  42. พลีกมฺม : นป. ดู พลิกมฺม
  43. กกจทนฺต : ป. ซี่หรือฟันเลื่อย
  44. กสิณปริกมฺม : นป. กิจเบื้องต้นคือการเตรียมหาวัตถุก่อนที่จะลงมือเพ่งกัมมัฏฐาน
  45. กุลทูสกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของภิกษุผู้ประ- ทุษร้ายตระกูล มี วิ. ดังนี้. ทุ. ตัป. กุลสฺส ทูสโก กุลทูสโก (ภิกฺขุ). วิเสสนบุพ. กัม. กุลทูสกภิกฺขุโน กมฺมํ กุลทูสกกมฺมํ. แปล ว่า การกระทำของบุคคลผู้ประทุษร้าย ตระกูลบ้าง.
  46. ขณฺฑทนฺต : ค. ผู้มีฟันหัก (ฟันหลุด)
  47. จตฺตาฬีสทนฺต : ค. (มหาบุรุษ) ผู้มีฟันสี่สิบซี่
  48. จีวรกมฺม : (นปุ.) การทำซึ่งผ้า, การทำจีวร คือ การสุ (ทำให้สะอาด) แล้วตัดเย็บและย้อม.
  49. ฉทฺทนฺต : (ปุ.) ฉัททันต์ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๑๐ ใน ๑๐ ตระกูล มีกายบริสุทธิ์ดังเงิน ยวง ปากและเท้าสีแดง. คัมภีร์ทางพม่า และฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
  50. เชฏฺฐาปจายิกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของบุคคลผู้ยำเกรงแก่บุคคลผู้เจริญที่สุด, การทำของบุคคลผู้ประพฤติอ่อนน้อมแด่ผู้ ใหญ่.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-317

(0.0486 sec)