Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทันตกรรม, ทันต, กรรม , then กมฺม, กรรม, ทนต, ทนฺต, ทันต, ทันตกรรม, ทันตะ, ทันตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทันตกรรม, 317 found, display 251-300
  1. ทณฺฑกมฺม : นป. ทัณฑกรรม, การลงโทษ
  2. ทนฺติ : (อิต.) การทรมาน, การฝึก, การฝึกหัด, การฝึกฝน, ความทรมาน, ฯลฯ. ทมฺ ทมเน, ติ. แปลง มฺ เป็น นฺ หรือแปลง ติ เป็น นฺติ แล้วลบที่สุดธาตุ.
  3. ทฬฺหีกมฺม : (นปุ.) การทำให้มั่น, การทำให้มั่นคง.
  4. ทฬฺหึกมฺม, - กรณ : นป. การกระทำให้มั่น, การทำให้มั่นคงแข็งแรง
  5. ทาฐาทนฺต : ป. เขี้ยว
  6. ทิฏฺฐชุกมฺม : (นปุ.) การทำความเห็นให้ตรง คือการทำความเห็นให้ถูกต้องตามหลัก ธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนา.
  7. ทิฏฺฐาวิกมฺม : นป. การทำความเห็นให้แจ้ง, การเปิดเผย, สารภาพ
  8. ทุโนติ : ก. ไหม้
  9. นวกมฺม : (นปุ.) การทำใหม่, การงานใหม่, กิจอัน... ทำใหม่, การก่อสร้าง.
  10. นิติกมฺม : (นปุ.) การกระทำตามกฎหมาย, นิติกรรม.
  11. นิทฺทนฺต : นป. ความหลับ
  12. ปฏิกมฺม : นป. การทำคืน, การทำตอบ, การชดใช้, การให้คืน, การแก้ไข, การโอนให้
  13. ปณิธิกมฺม : นป. พิธีแก้บน
  14. ปรกมฺม : นป. การงานของผู้อื่น
  15. ปริกมฺม : (นปุ.) การทำบ่อยๆ, การทำซ้ำๆ, การขัดถู, การบริกรรม, ไทยใช้บริกรรม เป็นกิริยาในความว่า สำรวมใจสวดมนต์ สำรวมใจร่ายมนต์เสกคาถา เสกเป่า ตกแต่ง กำหนดใจ นวดฟั้น ฉาบทา.
  16. ปาตุกมฺม : นป. การทำให้ปรากฏ
  17. ปาทปริกมฺม : นป. การบริกรรมเท้า, การนวดเท้า
  18. ปิฏฺฐิปริกมฺม : นป. การนวดหลัง (โดยวิธีถูไปถูมา)
  19. ปิณฺฑิกมฺมส : นป. เนื้อสะโพก
  20. ปุญฺญกมฺม : นป. การทำบุญ, การกระทำอันเป็นไปเพื่อความดี
  21. ปุปฺผทนฺต : ป. ชื่อช้างประจำทิศ
  22. พหุลีกรณ, พหุลีกมฺม : นป. การกระทำมาก, การกระทำอันเป็นไปติดต่อ
  23. ภทนฺต, ภทฺทนฺต : ค. ท่านผู้เจริญ, พระผู้เป็นเจ้า, พระคุณเจ้า (ใช้สำหรับพระสงฆ์)
  24. มสฺสุกมฺม : นป. การโกนหนวด
  25. รชนกมฺม : นป. การย้อม
  26. วณปฏิกมฺม : นป. การเยียวยาแผล
  27. วตฺถิกมฺม : นป. การสวน
  28. เวชฺกมฺม : นป. การเยียวยาโรค
  29. สงฺฆกมฺม : นป. การกระทำของสงฆ์ ได้แก่ กิจที่พระสงฆ์ตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปร่วมกันทำในสีมา
  30. สลฺลกตฺติย สลฺลกมฺม : (นปุ.) การผ่าตัด, ศัลยกรรม.
  31. สุทนฺต : ค. มีฟันงาม, มีงางาม ; ฝึกดีแล้ว
  32. หตฺถิทนฺต : ป., นป. งาช้าง
  33. อตฺตทนฺต : ค. ผู้ฝึกฝนตนเองแล้ว
  34. อติกฺกมฺม : กิต. ก้าวล่วงแล้ว, ล่วงพ้นแล้ว
  35. อนายูทนฺต : กิต. ไม่พยายาม, ไม่ขวนขวาย
  36. อลกมฺม : (ปุ.) ความควรแก่การงาน, ความสามารถเพื่ออันทำ, ความสามารถเพื่อจะทำวิ.กมฺมสฺสอลํสมตฺโถติอลํกมฺโมเป็นอมาทิปรตัป.รูปฯ ๓๓๖.
  37. อวกฺกมฺม : กิต. ก้าวลงแล้ว, ย่างไปแล้ว, หลีกไปแล้ว
  38. อวิวรทนฺต : ค. มีฟันไม่ห่าง, มีฟันเรียบเสมอดี
  39. อสิทนฺต : ป. สัตว์มีฟันเป็นดาบ, จระเข้
  40. อีสาทนฺต : ค. มีงายาวเหมือนงอนไถ (ช้าง)
  41. อุตฺตานีกมฺม : นป. การแสดงให้ปรากฏ, การทำให้เข้าใจง่าย
  42. อุทกทนฺตโปณ : นป. น้ำสำหรับล้างหน้าและปากและไม้ถูฟัน
  43. อุทฺทนฺต : (ปุ.) เชิงกรานไฟ, เตาไฟ.
  44. อุทนฺต : ป. ข่าว
  45. อุปสงฺกมฺม : กิต. เข้าไปหาแล้ว
  46. โอกฺกมฺม : กิต. ก้าวลงแล้ว,หยั่งลงแล้ว
  47. โอทนฺต : (วิ.) มีโอเป็นที่สุด วิ. โอ อนฺโต เยสํ เต โอทนฺตา (อกฺขรา). โอ+อนฺต ทฺ อาคม.
  48. กมฺมนฺต : (ปุ.) การงาน. กมฺม ศัพท์ อนฺต สกัด.
  49. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  50. ทนฺตปวน : (นปุ.) ยาสีฟัน. ทนฺต+ปุ+ยุ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ส. ทนฺตปาวน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-317

(0.0307 sec)