Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ทันตกรรม, ทันต, กรรม , then กมฺม, กรรม, ทนต, ทนฺต, ทันต, ทันตกรรม, ทันตะ, ทันตา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ทันตกรรม, 317 found, display 51-100
  1. กมฺมสมุฏฐาน : ค. อันเกิดขึ้นแต่กรรม
  2. กมฺมสหาย : ค. มีกรรมเป็นเพื่อน
  3. กมฺมสามี : ป. เจ้าของกรรม
  4. กมฺมช : (วิ.) เกิดแต่กรรม วิ. กมฺมโต ชาโตติ กมฺมโช (วิปาโก). กมฺมโต ชาตาติ กมฺมชา (ปฏิสนฺธิ). กมฺมโต ชาตนฺติ มฺมชํ (รูปํ). ชนฺ ชนเน, กฺวิ, นฺโลโป. กมฺมโต ชาโต กมฺมโช. ต. ตัป., ปญ จ. ตัป.
  5. ทกฺขิณา : (อิต.) ทักขิณา ทักษิณา ชื่อทาน อันบุคคลเชื่อกรรมและผลของกรรมแล้ว จึงให้ กมฺมผลํ สทฺทหิตฺวา ทาตพฺพทานํ ทกฺขิณา ชื่อทานเพื่อผลอันเลิศ ชื่อทาน สมบัติอันเจริญ ชื่อทานอันทายกทายิกา บำเพ็ญอุทิศผลให้ผู้ล่วงลับไปแล้ว, ของ ทำบุญ, ใต้, ทิศใต้, เบื้องขวา, ทางขวา, ข้างขวา, ด้านขวา, ด้านใต้. วิ. ทกฺขนฺติ โภคสมฺปทาทีหิ ยาย สา ทกฺขิณา. ทกฺขฺ วุฑฺฒิยํ, อิโณ. เวสฯ ๔๕๔ วิ. ทกฺขนฺติ วหนกมฺเม อทนฺธตาย สิงฺฆํ คจฺฉนฺตีติ ทักขิณา. ต ปัจ. แปลงเป็น อีณ รัสสะ. ส. ทกฺษิณา.
  6. นาคทนฺตก : (ปุ.) นาคทันตกะ ชื่อหลักติดไว้ แขวนหมวด เป็นต้น, ไม้แขวนหมวก, ที่ แขวนสิ่งของ, ที่ห้อยของ. โบราณว่า บันไดแก้ว. ส. นาคทนฺต.
  7. กฏตฺตากมฺม : (นปุ.) กรรมอันตนทำแล้วพอ ประมาณ, กรรมอันตนทำแล้วในอดีตชาติ, กรรมสักว่าทำ.
  8. กตปุญฺญกมฺม : (วิ.) ผู้มีกรรมอันเป็นบุญอัน ทำแล้ว, ฯลฯ.
  9. กลฺยาณกมฺม : นป. กัลยาณกรรม, กรรมหรือการกระทำที่ดีงาม
  10. กสิกมฺม : (นปุ.) กรรมคือการไถ, การไถ, การทำนา, การเพาะปลูก. วิ. กสิ เอว กมฺมํ กสิกมฺมํ.
  11. กุสลกมฺม : (นปุ.) การทำอันเป็นความดี, ฯลฯ, กุศลกรรม. ส.กุศลกรฺม กุศลกรฺมฺม.
  12. กุสลกมฺมปติฏฐากรณกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ทำ ซึ่งที่พึ่งคือกรรมอันเป็นกุศล. เป็น วิเสสนปุพ. กัม. มี วิเสสนบุพ. กัม. อวกัม. และ ทุ. ตัป. เป็นท้อง.
  13. ฆาตกมฺม : (นปุ.) กรรมคือการฆ่า, การทำการฆ่า, การฆ่า, ฆาตกรรม (การฆ่าตัวตาย).
  14. ญตฺติกมฺม : (นปุ.) ญัตติกรรม ใช้ในอรรถ ๒ อย่างคือ การตั้งข้อเสนอให้พิจารณา อย่าง ๑ กรรมอันสงฆ์ทำด้วยตั้งญัตติไม่ต้อง สวดอนุสาวนาอย่าง ๑.
  15. ตสฺสปาปิยสิกากมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์ พึงทำแก่ภิกษุรูปนั้นผู้เป็นบาป (ปกปิด ความประพฤติชั่วของตนด้วยการพูดเท็จ).
  16. ตุณฺณกมฺม : นป. กรรมคือการชุน, การเย็บ, การตัดเสื้อผ้า
  17. นตฺถุกมฺม : (นปุ.) กรรมอันบุคคลทำโดยจมูก, กรรมคืออันนัตถุ์, การนัตถุ์.
  18. นิคฺคหกมฺม : (นปุ.) นิคคหกรรม นิคหกรรม ชื่อกรรมอันสงฆ์ลงโทษแก่ภิกษุเพื่อให้ เข็ดหลาบ.
  19. ปรโลกหิตาวหนกมฺม : (นปุ.) กรรมอันเป็น เครื่องนำมาซึ่งประโยชน์เกื้อกูลในโลกอื่น.
  20. พลิกมฺม, พลิกรณ : นป. เครื่องพลีกรรม, เครื่องสังเวยเทวดา, เครื่องบูชาภูตเทวดาและผู้ควรรับเครื่องบูชาอื่นๆ
  21. ภณฺฑุกมฺม : (นปุ.) การโกนหัว, การปลงผม, ภัณฑกรรม คือการขออนุญาตปลงผมผู้ที่จะบวชอันภิกษุทำเอง เป็น อปโลกนกรรม.
  22. มโนกมฺม : (นปุ.) กรรมอันเป็นไปแล้วในมโนทวาร วิ. มโนทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ มโนกมฺมํ. กรรมอันเป็นไปแล้วในใจ วิ. มนสฺมึ ปวตฺตํ กมฺมํ มโนกมฺมํ. กรรมอันทำแล้วด้วยใจ วิ. มนสา กตํ กมฺมํ มโนกมฺมํ. การทำด้วยใจ, การทำทางใจ. วิ. มนสา กมฺมํ มโนกมฺมํ.
  23. ยถากมฺม : (นปุ.) กรรมอย่างไร, ตามกรรม.
  24. วจีกมฺม : นป. วจีกรรม
  25. สามีจิกมฺม : (นปุ.) การทำชอบ, ฯลฯ, กิจชอบ, ฯลฯ, กรรมชอบ, ฯลฯ, สามีจิกรรม (การชอบ การเคารพ).
  26. สุจิกมฺม : (วิ.) มีกรรมสะอาด, มีการงานดี.
  27. สุทฺธกมฺม : (นปุ.) กรรมหมดจดแล้ว, กรรมหมดจด, ฯลฯ.
  28. อกุสลกมฺม : (นปุ.) กรรมมิใช่ความฉลาด, กรรมมิใช่ความดี, กรรมชั่วร้าย, อกุศลกรรม (โทษ บาป).
  29. อญฺชลิกมฺม : นป. อัญชลีกรรม, การประนมมือ, การไหว้
  30. อโหสิกมฺม : (นปุ.) อโหสิกรรมคือกรรมที่ต่างฝ่ายต่างเลิกแล้วต่อกันการไม่เอาบาปกรรมแก่กัน, กรรมที่ไม่ให้ผล.วิ.อโหสิกํกมฺมํอโหสิกมฺมํ.ลบกสกัด.
  31. อาจิณฺณกมฺม : นป. อาจิณกรรม, กรรมที่ทำบ่อยๆ
  32. อาจิณฺณอาจิณฺณกมฺม : (นปุ.) อาจิณณกรรมคือกรรมที่ทำเสมอ ๆ เนือง ๆ บ่อย ๆ. วิ.อาจียติ ปุนปฺปุนํกรียตีติอาจิณฺณํ. อาปุพฺโพจิจเย, โต.แปลงตเป็น อิณฺณไทยใช้อาจิณเป็นวิเศษในความว่าเป็นปกติเนือง ๆบ่อย ๆ เสมอ.
  33. อาทิกมฺม : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยกรรมอันเป็นเบื้องต้น.วิ. อาทิกมฺเมนนิยุตฺโตอาทิกมฺโม, ณปัจ.ราคาทิตัท.
  34. อุชุกมฺม : (นปุ.) กรรมตรง. วิ. อตฺตโน ปจฺจเยหิ อุชุ  กรียตีติ อุชุกมฺมํ.
  35. อุปฆาตกมฺม : (นปุ.) การเข้าไปกระทบ, ฯลฯ, อุปฆาตกรรม (กรรมตัดรอน).
  36. กฏน : นป. กรรมชั่ว, หญ้าคา, จาก
  37. กฏากฏ : นป. กรรมที่ทำแล้ว; น้ำถั่วเขียวที่ข้นนิดหน่อย
  38. กณฺหกมฺม : นป. กรรมดำ, กรรมเลว
  39. กตกมฺม : ค. ผู้มีกรรมอันทำแล้ว
  40. กตกลฺยาณ : ค. ผู้มีกรรมดีหรือกรรมงามอันทำแล้ว
  41. กตน : นป. กรรมชั่ว, การทำบาป
  42. กตปาปกมฺม : (วิ.) ผู้มีกรรมอันเป็นบาปอัน ทำแล้ว, ผู้มีกรรมคือบาปอันทำแล้ว.
  43. กมฺมก : ค. ที่เนื่องด้วยกรรม, ซึ่งอาศัยกรรม
  44. กมฺมกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งกรรม
  45. กมฺมกถา : อิต. การกล่าวเรื่องของกรรม, กรรมบรรยาย
  46. กมฺมกรณ : (นปุ.) โทษชาตเป็นเครื่องทำซึ่ง กรรม, การทำซึ่งกรรม, การทำกรรม, การลงโทษ, กรรมกรณ์ (เครื่องสำหรับ ลงอาชญา). กรรมกรณ์ไทยใช้เป็นกิริยา ว่าลงโทษ. ส. กรฺมกรณ.
  47. กมฺมกิเลส : ป. กรรมกิเลส, กรรมเป็นเหตุให้เศร้าหมอง
  48. กมฺมจฺเฉท : ป. การตัดรอนของกรรม, การแทรกแซงของกรรม
  49. กมฺมญฺญ : ค. อันควรแก่กรรม, ควรแก่การงาน
  50. กมฺมตปฺปน : นป. ความเดือดร้อนเพราะกรรม
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-317

(0.0307 sec)