Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กล่าวโจมตี, โจมตี, กล่าว , then กลาว, กล่าว, กลาวจมต, กล่าวโจมตี, โจมตี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กล่าวโจมตี, 320 found, display 101-150
  1. ธมฺมสากจฺฉา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว กับเป็นเครื่องแสดงซึ่งธรรม, การสนทนาซึ่งธรรม, การสนทนาธรรม.
  2. ธมฺมิกถา ธมฺมีกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่อง กล่าวประกาศด้วยธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรม, ถ้อยคำอันเป็นไปในธรรม, คำพูดอันเป็นไปในธรรม, การพูดด้วยเรื่องธรรม, ถ้อยคำที่ประกอบ ด้วยเหตุผล, ถ้อยคำที่มีเหตุผล. ธมฺม+กถา อิ, อี อาคม.
  3. ธมฺมีกถา : อิต. ธรรมีกถา, การกล่าวธรรม, การแสดงธรรม
  4. ธุตวาท, - ที : ป. ผู้กล่าวสอนเรื่องธุดงค์, ผู้ส่งเสริมการปฏิบัติธุดงค์
  5. ธูต : (วิ.) หวั่นไหว, กล่าวโทษ, ติเตียน, ตัดสิน. ธู กมฺปเน, โต.
  6. นตฺถิกวาท, - วาที : ป. ผู้มีปกติกล่าวว่าไม่มี, ผู้เชื่อในทฤษฎีที่ว่าไม่มีหรือขาดสูญ
  7. นตฺถิปูว : (ปุ.) ขนมอันบุคคลพึงกล่าวว่าไม่มี, ขนมไม่มี, นัตถิปูวะ ชื่อขนม.
  8. นานาวาท : (ปุ.) การกล่าวต่างกัน, การกล่าว ต่างๆกัน.
  9. นิคฺคยฺหวาที : ค. ผู้พูดตำหนิ, ผู้พูดข่ม, ผู้กล่าวโทษ
  10. นิคท : (ปุ.) อันกล่าว, การกล่าว, โวหาร (คำ พูด). นิปุพฺโพ, คทฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, อ. ส. นิคท.
  11. นิคม : (ปุ.) ย่านการค้า, หนทางพ่อค้า, ตลาด, หมู่บ้าน, หมู่บ้านใหญ่, ตำบล, บาง, นคร, เวท, คำซ้ำ, คำกล่าวซ้ำ. ส. นิคม.
  12. นิคมคาถา : (อิต.) นิคมคาถา คือคำประพันธ์ ที่กล่าวย่อ คำเดิมให้สั้น เพื่อให้ผู้ฟังเข้า ใจง่าย.
  13. นิคมน : (นปุ.) คำเครื่องกล่าวซ้ำ, คำกล่าว ซ้ำ, การกล่าวตะล่อม, การตะล่อมความ, การออกไป. ส. นิคมน.
  14. นิทานกถา : อิต. การเล่าเรื่อง, การปรารภ, การกล่าวถึงเรื่องเดิม
  15. นินฺทา : (อิต.) การกล่าวติเตียน, การกล่าว โทษ, ความติเตียน, คำติเตียน. นิทิ กุจฺฉาย์, อ. ส. นินฺทา.
  16. นินฺทิต : ค. ถูกนินทา, น่าตำหนิ, ซึ่งอัน...ติเตียนแล้ว, ถูกกล่าวหา, ถูกใส่โทษ
  17. นิปจฺจวาที : ค. ผู้กล่าวทับถม, ผู้กล่าวกดขี่, ผู้กล่าวให้ตกต่ำ
  18. นิปญฺญวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ้งคำไร้ปัญญาโดย ปกติ, ฯลฯ, ผู้กล่าวซึ่งคำเครื่องยังทายก ให้ตกต่ำโดยปกติ.
  19. นิรสน : (นปุ.) การกล่าวคืน, การไม่ยอมรับ. นิปุพฺโพ, อสุ เขเป, ยุ, รฺอาคโม. ส. นิรสน.
  20. นิรากติ : (อิต.) การกล่าวคืน, การไม่ยอมรับ. นิ+อา+กรฺธาตุ ติ ปัจ. รฺ อาคม ลบที่สุด ธาตุ.
  21. ปเคว : อ. ก่อนทีเดียว, จะกล่าวไปไยถึง
  22. ปจฺจกฺขาติ : ก. กล่าวตู่, บอกปัด, ไม่ยอมรับ, บอกคืน
  23. ปจฺจกฺขาน : นป. การกล่าวตู่, การบอกปัด, การบอกคืน
  24. ปฏิจิกฺขติ : ก. กล่าวตอบ, แก้ปัญหา
  25. ปฏิโจทน : นป. การโจทตอบ, การกล่าวโทษตอบ, การติเตียนตอบ
  26. ปฏิโจเทติ : ก. โจทตอบ, กล่าวโทษตอบ, ติเตียนตอบ
  27. ปฏิภาสติ : ก. กล่าวตอบ, ปราศรัยตอบ, ตอบ
  28. ปฏิวจน : นป. การกล่าวตอบ, การตอบ, คำตอบ
  29. ปฏิวตฺตุ : ป. ผู้กล่าวตอบ, ผู้ตอบโต้, ผู้กล่าวค้าน, ผู้พูดขัดคอ
  30. ปฏิวทติ : ก. กล่าวตอบ, ตอบค้าน
  31. ปฏิวากฺย : นป. คำกล่าวตอบ
  32. ปฏิวาท : ป. คำกล่าวตอบ, คำพูดย้อน, การสวนคำ, คำต่อว่าโต้กลับ
  33. ปฏิวุตฺต : กิต. (อันเขา) กล่าวตอบแล้ว, กล่าวแย้งแล้ว
  34. ปทภาณ : ป. การกล่าวบท, การขานด้วยบท, การสวดบทคำสอนในพระคัมภีร์
  35. ปทภาณก : ค. ผู้กล่าวหรือสวดบทคำสอนในพระคัมภีร์
  36. ปปญฺเจติ : ก. ทำให้เนิ่นช้า, ชักช้า, ให้พิสดาร, กล่าวให้เยิ่นเย้อ, ทำให้ฟั่นเฝือ, อธิบาย, หลงผิด
  37. ปรวาท : ป. คำกล่าวของผู้อื่น, คำเล่าลือของผู้อื่น; วาทะฝ่ายตรงข้าม, คำโต้แย้ง
  38. ปริปาเตติ : ก. โจมตี; ล้มลง; ฆ่า; เสื่อม
  39. ปริวาท : ค. ผู้กล่าวโทษ
  40. ปรูปวาท : ป. การกล่าวร้ายผู้อื่น, การติเตียนผู้อื่น
  41. ปวกฺขติ : ก. จักกล่าว, จักพูด
  42. ปวุตฺต : ค. ซึ่งกล่าวแล้ว; หว่านแล้ว
  43. ปเวทน : นป. การประกาศ, การบอก, การกล่าว, การแจ้งให้ทราบ
  44. ปิจุ : นป. ฝ้าย; สัตว์ป่าชนิดหนึ่งกล่าวกันว่าเป็นลิง
  45. ปุนวจน : นป. การกล่าวซ้ำอีก, การทบทวน
  46. เปสุญฺญวาท : (ปุ.) คำส่อเสียด, คำพูดส่อเสียด, ถ้อยคำส่อเสียด, การกล่าววาจาส่อเสียด.
  47. พฺยากรณ : (นปุ.) การทำให้แจ้ง, การทำนาย, การกล่าวทาย, การกล่าวแก้, การเฉลย, การคาดการณ์, การยืนยัน, ความยืนยัน, พยากรณ์ ชื่อเวทางค์ คือ การเรียนพระเวทอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง. วิ. ยถาสรูปํ สทฺทา วฺยากรียนฺติ เอเตนาติ วฺยากรณํ. วิ อา ปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ยุ. อภิฯ. สาธุสทฺทานมนฺวาขฺยายกํ พฺยากรณํ. ฎีกาอภิฯ.
  48. พฺรหฺมทณฺฑ : (ปุ.) ไม้แห่งพระพรหม, อาชญาของพระพรหม, อาชญาอันประเสริฐ, พรหมทัณฑ์ ชื่อ การลงโทษอย่างสูงอย่างหนึ่งของพุทธศาสนา คือห้ามไม่ว่ากล่าวภิกษุหัวดื้อว่ายากสอนยากห้ามไม่ ให้ใครพูดด้วย. ปัจจุบันนี้ยังใช้ได้ผลหรือไม่?
  49. พหุปฺปท : (วิ.) ผู้รู้ถ้อยคำอันยาจกกล่าว, ผู้โอบอ้อมอารี?
  50. พหุวจน : (นปุ.) คำพูดมาก, คำพูดบ่งถึงของมาก, คำ พูดสำหรับของมาก, คำที่กล่าวถึงสิ่งมากกว่าหนึ่ง, พหูพจน์.
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-320

(0.0457 sec)