Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กล่าวโจมตี, โจมตี, กล่าว , then กลาว, กล่าว, กลาวจมต, กล่าวโจมตี, โจมตี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กล่าวโจมตี, 320 found, display 201-250
  1. สานุวชฺช : ค. น่าติเตียน, ควรตามไปว่ากล่าว
  2. สีลกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวพรรณาซึ่งศีล, กถาพรรณาศีล, สีลกถา, ศีลกถา.
  3. สุภาสิต : (นปุ.) คำอัน...กล่าวดีแล้ว, สุภาษิต (คำพูดที่เป็นคติ).
  4. สุวจ : (วิ.) ผู้อัน...กล่าวได้โดยง่าย, ผู้อัน...ว่าได้โดยง่าย, ผู้อัน...สอนได้โดยง่าย, ผู้อัน...ว่าง่ายสอนง่าย.
  5. โหรา : (อิต.) วิชากล่าวด้วยเหตุในเบื้องหน้าและเหตุในอดีต วิ. หุรํ การเณน จ อดีตการเณน จ วจตีติ โหรา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  6. อกฺขาตาร : ป. ผู้บอก, ผู้กล่าว, ผู้ประกาศ, ผู้แสดง
  7. อกฺขาตุ : ป. ผู้บอก, ผู้กล่าว, ผู้แสดง
  8. อกฺขาน : (นปุ.) การบอก, การกล่าว, การแสดง, การชี้แจง, การสวด, เรื่อง, นิทาน, การเล่านิทาน, เสภา, อาขยาน (บทท่องจำ).อาปุพฺโพ, ขา ปกถเน, ยุ. ส. อาขฺยาน
  9. อกฺขายี : (วิ.) ผู้มีปกติกล่าว, ฯลฯ.ณีปัจ.แปลงอาเป็นอาย.
  10. อกรณียกิจฺจ : (นปุ.) กิจอัน....ไม่พึงทำ, กิจอัน....ไม่ควรทำ, อกรณียกิจ.กิจอันบรรพชิตไม่ควรทำ (ทำไม่ได้) มี๔ อย่าง.ความเป็นจริงกิจที่บรรพชิตไม่ควรทำทั้งสิ้น ชื่ออกรณียกิจ ที่ท่านยกขึ้นกล่าวเพียง ๔ อย่างนั้นกล่าวเฉพาะข้อที่สำคัญซึ่งล่อแหลมต่อการขาดจากความเป็นบรรพชิตและเพื่อให้เหมาะแก่เวลาเมื่ออุปสมบทเสร็จ.อกรณียกิจของคนทั่วไปได้แก่ กายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต.
  11. อกองฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าวเป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร.อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  12. อก องฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าว เป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆ ของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร. อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  13. อกิริยวาท : (วิ.) ผู้มีวาทะว่า อ. กรรมอันบุคคลทำแล้วไม่ชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีวาทะว่ากรรมอันบุคคลทำแล้วไม่ชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีลัทธิเป็นเครื่องกล่าวกรรมไม่ชื่อว่าอันบุคคลทำ, ฯลฯ.
  14. อคฺคญฺญสุตฺต : (นปุ.) อัคคัญญสูตร(กล่าวถึงเรื่องสร้างโลก).
  15. อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยาก ให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี). วิ. อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺฐกถา. อตฺถปุพฺ โพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
  16. อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยากให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี).วิ.อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺกถา. อตฺถปุพฺโพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
  17. อตฺถกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องอัน.....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความคำอธิบายซึ่งเนื้อความ, ถ้อยคำแก้อรรถ, อรรถกถาชื่อคัมภีร์ที่ท่านแต่งแก้เนื้อความแห่งพระบาลีพุทธพจน์ที่เข้าใจยากให้ง่ายขึ้น
  18. อตฺถวาที : ค. ผู้มีปกติกล่าวแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์
  19. อติวากฺย : (ปุ.) คำอันพึงบุคคลพึงกล่าวล่วงเกิน, คำกล่าวล่วง, คำล่วงเกิน.อติปุพฺโพวจฺภาสเน, โณฺย, จสฺสโก.
  20. อธมฺมวาที : (วิ.) ผู้มีปกติกล่าวซึ่งคำไม่ถูกต้อง, ผู้มีปกติกล่าวไม่เที่ยงตรง, ผู้พูดไม่เป็นธรรม
  21. อธิวจน : (นปุ.) คำเครื่องกล่าวทับ, ชื่อเครื่องกล่าวยิ่ง, คำเรียก, คำร้องเรียก, นาม, ชื่อ.วิ.อธีนํวจนํอธิวจนํ.ส.อธิวจน.
  22. อนุปวชฺช : ค. ไม่ถูกกล่าวร้าย, ไม่ถูกตำหนิ
  23. อนุปวาท : (ปุ.) การไม่เข้าไปว่ากล่าว, การไม่เพ่งโทษ, การไม่กล่าวร้าย.
  24. อนุปุพฺพิกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งธรรมมีในเบื้องต้น, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งที่อันมีในเบื้องหน้า, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรมโดยลำดับ, ถ้อยที่แสดงไปตามลำดับ, การกล่าวโดยลำดับวิ.อนุปุพฺเพน กถาอนุปุพฺพิกถา.แปลงอที่สุดศัพท์เป็นอิหรือลงอิอาคมเป็นอนุปุพฺพีกถาโดยแปลง อเป็นอีบ้าง.อนุปุพฺพ เป็นต้นเมื่อเข้ามาสมาสกับศัพท์ที่สำเร็จมาจากกรฺกถฺธาตุจะแปลงอของศัพท์ต้นเป็นอิหรืออีเสมอ.
  25. อนุภาสติ : ก. ว่าตาม, กล่าวตาม, กล่าวซ้ำ
  26. อนุโมทนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องดำเนินตาม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวด้วยสามารถแห่งอันบันเทิงตาม, ความยินดีตาม, ความยินดีด้วยความพลอยยินดี, ความเบิกบานใจ, อนุโม-ทนา (ความพลอยยินดีด้วยกับความดีของคนอื่น).ส.อนุโมทนา.
  27. อนุลปนา (อนุลฺปนา) : อิต. การกล่าวฟ้องร้อง, การกล่าวโทษ, การติเตียน
  28. อนุลฺลปนา : (อิต.) การกล่าวหา, การกล่าวโทษ, การฟ้องร้อง.
  29. อนุลาป : (วิ.) กล่าวมาก, พูดมาก, พูดพล่าม, พูดพล่ำ, พูดซ้ำซาก.วิ.อนุปุนปฺปุนํลาโป อนุลาโป.อนุปุพฺโพ, ลปฺ วจเน, โณ.ส. อนุลาป.
  30. อนุวชฺช : ค. ความตำหนิ, การกล่าวโทษ
  31. อนุวทติ : ก. กล่าวตำหนิ, โทษ
  32. อนุวทนา : (อิต.) การกล่าวหา, การกล่าวโทษ, การติเตียน, คำกล่าวหา, ฯลฯ.
  33. อนุวาเจติ : ก. กล่าวตาม, ว่าตาม, กล่าวซ้ำ
  34. อนุวาท : (ปุ.) การกล่าวหา, การกล่าวโทษ, การโจท, การติเตียน.
  35. อนุสาวน : นป. การกล่าวประกาศ, การบอกข่าว
  36. อนุสาสน : (นปุ.) การพร่ำสอน, การสั่งสอน, การว่ากล่าว, คำสั่งสอน, คำชี้แจง, อนุ-ศาสน์.วิ.อนุสาสิยเตติอนุสาสนํ.ส. อนุศาสนคำสั่งวินัย.
  37. อนูปวาท : (ปุ.) การไม่เข้าไปกล่าว, การไม่กล่าวโทษ, การไม่กล่าวร้าย, การไม่ว่าร้ายอนูปวาทะ (การไม่เบียดเบียนด้วยวาจาคือการไม่พูดดูถูกเขาดูหมิ่นเขาข้อนขอด-เขา).อนูปฺฆาตะ และ อนูปวาทะเป็นคุณสมบัติของผู้เผยแพร่ (เผยแผ่) พระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสไว้ในโอวาท-ปาติโมกข์.
  38. อปเทส : (ปุ.) คำกล่าว, คำบอกเล่า, คำชี้แจง, คำอ้างอิง, ข้ออ้างอิง, การกล่าวอ้าง, เหตุ, การโกง.อปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ.
  39. อปโลกน : (นปุ.) การแจ้งความ, การบอกกล่าว, การบอกให้ทราบ, การประกาศ, การเลือก, การอนุญาต, การอำลา, อปปุพฺโพ, โลกฺภาสยํ, ยุ.
  40. อปวทติ : ก. ว่ากล่าว, ตักเตือน, ติเตียน, นินทา
  41. อปวาท : (ปุ.) คำกล่าวโทษ, การกล่าวโทษ, การติเตียน, การโจทย์.ส.อปวาท.
  42. อพฺโพหาริก,- ริย : ค. กล่าวอ้างไม่ได้, กล่าวไม่ได้ว่ามี, เพิกเฉย, พิเศษ
  43. อพฺภกฺขาติ : ก. กล่าวตู่, กล่าวคัดค้าน
  44. อพฺภกฺขาน : (นปุ.) การกล่าวตู่, การกล่าวครอบงำ, การกล่าวข่มขี่, คำกล่าวตู่, ฯลฯ, คำกล่าวหาความ.อภิ+อกฺขานแปลงอิเป็นยรวมเป็นภฺยแปลงภฺยเป็นพฺภ.หรือแปลงอภิเป็นอพฺภ. อสฺจเจนอกฺขานํอพฺภกฺขานํ.ตุจฺฉภาสนํอพฺภกฺขานํนาม.
  45. อพฺภาจิกฺขติ : ก. กล่าวตู่, กล่าวใส่ร้าย
  46. อพฺภาจิกฺขน : (นปุ.) การกล่าวตู่, ฯลฯ, คำกล่าวตู่, ฯลฯ.อภิอาบทหน้าจิกฺขฺธาตุในความกล่าวยุปัจ.
  47. อภิชปฺปน : นป. ๑. ความอยาก, ความปรารถนา; ๒. การกล่าว
  48. อภิชปฺปี : ค. ๑. ซึ่งปรารถนา, ซึ่งต้องการ ; ๒. ซึ่งกล่าว
  49. อภิทฺวติ : ก. เข้าโจมตี, บุกรุกทำร้าย
  50. อภิธมฺม : (ปุ. นปุ.) ธรรมยิ่ง, ธรรมอย่างสูง, ธรรมอันประเสริฐ, อภิธรรมกล่าวด้วยเรื่องจิตเจตสิกรูปและนิพพานเป็นปิฎกที่๓.ส. อภิธรรม.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-320

(0.0430 sec)