Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: กล่าวโจมตี, โจมตี, กล่าว , then กลาว, กล่าว, กลาวจมต, กล่าวโจมตี, โจมตี .

ETipitaka Pali-Thai Dict : กล่าวโจมตี, 320 found, display 51-100
  1. กิมงฺค : (นปุ.) คำมีอะไรเป็นเหตุ, อะไรเป็น เหตุ. แปล องฺค ว่าเหตุ อ. กิมงฺคํ ปน ก็ อ. อะไรเป็นเหตุเล่า แปลโดยอรรถว่า จะป่วยกล่าวไปใย. กึ
  2. กิริยวาท : (ปุ.) บุคคลผู้กล่าวว่า อ. กรรมอัน บุคคลทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, บุคคลผู้มี ลัทธิเป็นเครื่องกล่าวว่ากรรมชื่อว่าอัน บุคคลทำ, วาทะว่าเป็นอันทำ, กิริยวาทะ (ผู้เชื่อว่าผลของกรรมมีอยู่).
  3. กิริยวาที : (ปุ.) บุคคลผู้มีปกติกล่าวว่า อ. กรรมอันบุคคลทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ฯลฯ.
  4. กึวาที : ค. ผู้ชอบกล่าวถึงอะไร, ผู้มีความเห็นว่าอย่างไร
  5. กึอกฺขายี : ค. มีปกติกล่าวว่าอย่างไร, หรืออะไร, ผู้มักถาม
  6. กูฏเวที : ป. คนชอบกล่าวเท็จ, ผู้ใส่ร้าย
  7. โกณฑญฺญ : (ปุ.) โกณฑัญญะ ชื่อหัวหน้า เบญจวรรคีย์ผู้ไปเฝ้าปฏิบัติพระมหาบุรุษ ขณะทรงบำเพ็ญทุกกรกิริยา เมื่อพระมหาบุรุษตรัสรู้แล้ว ได้ฟังปฐมเทสนา ได้สำเร็จเป็นพระอริยบุคคลเป็นองค์แรก วิ. กุณฺฑนิยา อปจฺจํ โกณฺฑญฺโญ. กุณฺฑนิยา วา ปุตฺโต โกณฺฑญฺโญ. ณฺยปัจ. ลบ อี ที่ นี เหลือเป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นยฺ แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ หรือ รัสสะ อี เป็น อิ แล้วลบ อิ ลบ ณฺ เหลือเป็น นฺย แล้ว แปลงดังกล่าวแล้ว รูปฯ ๓๕๔-๕.
  8. ขายติ : ก. ปรากฏว่า, คล้ายกับว่า, ประหนึ่งว่า; กล่าวว่า, เรียกว่า
  9. คณโภชน : (นปุ.) โภชนะเป็นคณะ, การฉันเป็น หมู่. ภิกษุตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปรับนิมนต์ ออกชื่อโภชนะ คือทายกทายิกา นิมนต์ โดยออกชื่ออาหาร เช่นกล่าวว่า นิมนต์ฉันแกงไก่ แล้วภิกษุไปฉัน เรียกว่าคณะโภชนะ (ฉันเป็นคณะ). โภชนวรรคสิกขาบทที่ ๒ ไตร. ๒/๓๑๓.
  10. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  11. ครหณ : นป. การติเตียน, การกล่าวโทษ, การใส่ร้าย
  12. ครหติ : ก. ติเตียน, กล่าวโทษ, ใส่ร้าย, นินทา, ด่า, ว่าร้าย
  13. คาถา : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, คำของ บุคคลผู้มีปรีชา, วาจาอันบัณฑิตผูกไว้, สัททชาติอัณบัณฑิตกล่าว, ลำนำ (บทเพลง ที่เป็นทำนอง), กลอน, บทกลอน, เพลง, เกียรติ, คาถา ชื่อคำประพันธ์ทางภาษา มคธ เรียกคำฉันท์ที่ครบ ๔ บาทว่า ๑ คาถา (ระเบียบเป็นเครื่องอันบัณฑิตขับ) ชื่อองค์ที่ ๔ ของนวังคสัตถุศาสน์. คา สทฺเท, โถ, อิตฺถิยํ, อา. ส. คาถา.
  14. คุณกถา : อิต. การกล่าวถึงคุณ, การกล่าวยกย่อง, การสรรเสริญ, การพรรณนาคุณความดี
  15. จกฺกวฺห จกฺกวาก : (ปุ.) นกจักพราก, นกจาก พราก, ห่านแดง. วิ. จกฺก มิจฺจโวฺห ยสฺส โส จกฺกโวฺห. ศัพท์หลัง จกฺกบทหน้า วจฺ ธาตุในความกล่าว ณ ปัจ. ทีฆะ แปลง จ เป็น ก. แปลว่า ห่าน ก็มี.
  16. จิตฺตกถ, - กถิก, - กถี : ค. ผู้กล่าวถ้อยคำอันวิจิตร, ผู้กล่าวถ้อยคำไพเราะ, ผู้เป็นนักพูดที่ฉลาด, ผู้มีวาทศิลป์, ผู้เป็นนักเทศน์
  17. จีวรวคฺค : (ปุ.) ตอนกล่าวถึงผ้า, ตอนกล่าวถึง ผ้าต่างๆ, ตอนว่าด้วยผ้าต่างชนิด.
  18. จุทิต : กิต. (อันเขา) โจทแล้ว, กล่าวหาแล้ว, ติเตียนแล้ว
  19. โจทก : (ปุ.) อาจารย์ผู้โจทก์, ชนผู้ทักท้วง, ชน ผู้ถาม, ชนผู้กล่าวหา, คนผู้ฟ้อง, โจทก์. จุทฺ สํโจทเน, ณฺวุ.
  20. โจทิต : กิต. (อันเขา) เร้าใจแล้ว, โจทแล้ว, กล่าวหาแล้ว, ติเตียนแล้ว
  21. โจเทติ : ก. โจท, ท้วง, กล่าวหา, ติเตียน, เตือน
  22. ฉทติ : ก. กล่าวโทษ, โพนทะนา, ติเตียน
  23. ชนวาท : (ปุ.) การกล่าวโทษ. ชส + วาท แปลง ส เป็น น.
  24. ชปน ชปฺปน : (นปุ.) การกล่าว, การร่าย, การกระซิบ, ความปรารถนา. ชปฺ ชปฺป วจเน มานเส จ, ยุ.
  25. ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
  26. ตชฺชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ ภิกษุผู้อันสงฆ์จะต้องคุกคาม, ตัชนียกรรม เป็นชื่อการลงโทษอย่างหนึ่งตามพระวินัย ซึ่งสงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้มีความผิด ๓ ประการ คือ เป็นผู้ประพฤติไม่เหมาะสม คือ ๑ . ๑ มักทำการบาดหมาง ทะเลาะ – วิวาท ฯลฯ ๑ . ๒ เป็นพาลมีอาบัติมาก มีมรรยาท ไม่สมควร ๑ . ๓ คลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่ สมควร เป็นผู้มีศีลวิบัติ อาจารวิบัติ และ ทิฏฐิวิบัติ และ ๓. กล่าวติเตียน พระพุทธ พระธรรม หรือพระสงฆ์ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ ลงตัชนิยกรรมได้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัติติจตุตถกรรมวาจา ไตร. ๖/๓
  27. ตถวจน : นป., ค. คำจริง; ผู้กล่าวคำจริง
  28. ตถาวาที : ค. ผู้กล่าวเช่นนั้น, กล่าวอย่างนั้น
  29. ตุจฺฉภาสน : นป. การกล่าวตู่, การพูดพล่อยๆ
  30. เตวาจิก : (วิ.) กล่าวสามครั้ง.
  31. ถุติปาฐก : (ปุ.) บุคคลผู้กล่าวชมคุณ, บุคคลผู้ หมายเหตุความชอบของบุคคล, เจ้าหน้าที่ ผู้หมายเหตุความชอบของบุคคล.
  32. เถยฺยสงฺขาต : อ. โดยอาการอันบัณฑิตกล่าวแล้วว่า การขโมย, โดยอาการขโมย
  33. ทฺวตตีสาการ : (ปุ.) อาการสามสิบสอง, ส่วนของร่างกายสามสิบสองส่วน, ส่วนของร่างกายทางศาสนากล่าวว่ามี ๓๒ ส่วน มีผม (เกสา) เป็นต้น มีเยื่อในสมอง (มตฺถลุงคํ) เป็นที่สุด.
  34. ทสชาติ : (อิต.) ชาติสิบ, ทศชาติ ชื่อคัมภีร์ ชาดก กล่าวด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าครั้งยัง เป็นพระโพธิสัตว์ ตอนก่อนตรัสรู้ มี ๑๐ ชาติ
  35. ทานกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งทาน, ถ้อยคำกล่าวถึทาน, การกล่าว ถึงทาน.
  36. ทีฆภาณก : ค. ผู้กล่าวทีฆนิกาย, ผู้สาธยายทีฆนิกาย
  37. ทุรุตฺต : ค., นป. (คำพูด) ซึ่งเปล่งไว้ไม่ดี, ซึ่งกล่าวไว้ชั่ว; คำพูดชั่ว, คำหยาบ
  38. เทผ : (ปุ.) อันกล่าว, การกล่าว, คำกล่าว, การรบ, การนินทา, คำนินทา, คำติเตียน, การเบียดเบียน, การถือเอา. ทิผฺ กถนยุทฺธ- นินฺทาหึสาทาเนสุ, โณ.
  39. เทวน : (นปุ.) การกล่าว, การพูด, คำกล่าว, คำพูด. เทวุ วจเน. ยุ.
  40. เทฺววาจิก : ค. ซึ่งประกอบด้วยวาจาสอง; ผู้เปล่งวาจาสองหนคือ กล่าวถึงพระพุทธเจ้าหนหนึ่งพระธรรมหนหนึ่ง; (ญัตติ) ซึ่งตั้งสองครั้ง
  41. โทสกฺขาน : นป. การกล่าวโทษ, การติเตียน
  42. โทสาโรปณ : นป. การยกขึ้นซึ่งโทษ, การแส่หาโทษคนอื่น, การกล่าวร้าย, การติเตียน
  43. ธมฺมกถา : อิต. ธรรมกถา, การกล่าวธรรม, ถ้อยคำที่เป็นธรรม, การสนทนาธรรม
  44. ธมฺมกถิก : (ปุ.) บุคคลผู้กล่าวซึ่งธรรม, นักเทศน์, ธรรมกถึก, พระธรรมกถึก.
  45. ธมฺมกลา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งธรรม, การกล่าวธรรม, ถ้อยคำอันเป็นธรรม.
  46. ธมฺมปทฎฺฐกถา : (อิต.) อรรถกถาเป็นเครื่องพรรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งบทแห่งธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งเนื้อความแห่งบทแห่งธรรม, อรรถกถาแห่งธรรมบท.
  47. ธมฺมปทภาณกมหาติสฺสตฺเถร : (ปุ.) พระ เถระชื่อว่าติสสะผู้ใหญ่ผู้กล่าววึ่งบทแห่งธรรม. เป็นวิเสสนปุพ. กัม. มี สัม กัม., วิเสสนบุพ. กัม. , ฉ.ตัป. และ ทุ.ตัป. เป็นภายใน.
  48. ธมฺมภาณก : (ปุ.) อาจารย์ผู้กล่าวซึ่งบทแห่ง ธรรม, อาจารย์สอนธรรมบท, อาจารย์ สอนธรรม.
  49. ธมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งธรรม, ฯลฯ. คำแปล อีก และ วิ. เลียนแบบ ธมฺมจารีง
  50. ธมฺมสภา : (อิต.) โรงเป็นที่กล่าวกับเป็นที่ แสดงซึ่งธรรม, โรงเป็นที่ประชุมกล่าว เป็นที่แสดงซึ่งธรรม, ธมฺมสภา (ที่ประชุมสอนศาสนา).
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-320

(0.0541 sec)