Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สั่นสะเทือน, สะเทือน, สั่น , then สน, สนสทอน, สะเทือน, สั่น, สั่นสะเทือน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สั่นสะเทือน, 340 found, display 151-200
  1. ปวิสน : นป. การเข้าไป
  2. ปสสน : นป., ปสํสา อิต. การสรรเสริญ, การยกย่อง, การชมเชย
  3. ปากสสน : ป. พระอินทร์
  4. ปาปทสฺสน : นป. ความเห็นอันชั่วร้าย, มิจฉาทิฐิ
  5. ปิยทสฺสน : นป. การได้เห็นสิ่งอันน่ารักน่าพอใจ
  6. ปิสน, (ปึสน) : นป. การบด, การขยำ, การทำลาย
  7. เปสน : (นปุ.) การส่งไป, การใช้ไป, การบังคับ, การพุ่ง, การใช้สอย. ปิสฺเปสเน, เปสฺ คติยํ วา, อ, ยุ.
  8. โปสน : (นปุ.) ความงอกงาม, ความเจริญ, ความรุ่งเรือง. ปสฺ วุฑฺฒิยํ, ยุ. การเลี้ยง, การเลี้ยงดู, การปรนปรือ. ปุสฺ โปสเน, ยุ.
  9. ผสฺสน : (นปุ.) อันกระทบ, ฯลฯ, ความถูกต้อง. ยุ ปัจ. แปลว่า การถือ ก็มี.
  10. ผุสน : (นปุ.) การถูก, การถูกต้อง, ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูกต้อง, สัมผัส.
  11. พฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ. วิ. วินฏฺฐ สุขํ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (ทุกข์). ความฉิบหายอันส่ายเสียซึ่งความเจริญให้พิ นาศ. วิ. วินฏฺฐ วุทฺธึ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (นสฺสนํ). โทษเกิดจากกาม (กามชโทส), โทษเกิดจากความโกรธ (โกปชโทส), ความทุกข์, ทุกข์, ความวิบัติ, ความฉิบหาย, ความวอดวาย, ความพินาศ. วิ. วิรูป มสติ อเนนาติ วฺยสนํ พฺยสนํ วา. วิสิฏฺฐ วา อสติ เขเปตีติ วิยสนํ พฺยสนํ วา.
  12. พาหุมูลวิภูสน : (นปุ.) ทองต้นแขน, กำไลแขน, กำไลมือ.
  13. พีภจฺฉทสฺสน : นป. การเห็นแจ้ง, การเห็นเป็นสิ่งน่าสยดสยองหรือน่ากลัว
  14. พุทฺธสาสน : (นปุ.) ศาสนาแห่งท่านผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน, ศาสนาของพระ พุทธเจ้า, ศาสนาพุทธ, พุทธศาสนา, พุทธสาสนา, โดยมากใช้รูปสันสกฤต คือ พุทธศาสนา.
  15. ภสฺสน : (นปุ.) คำ, ฯลฯ. ภสฺส วจเน, ยุ.
  16. ภาสน : (นปุ.) อันกล่าว, ฯลฯ, การกล่าว, ฯลฯ, คำกล่าว, ฯลฯ, ภาสน์ ภาษณ์ (การพูด).
  17. ภีม, ภีสน : ค. น่ากลัว
  18. ภึสน : (นปุ.) ความกลัว, ฯลฯ.
  19. ภูสน : (นปุ.) อันประดับ, การประดับ, เครื่องประดับ, เครื่องอาภรณ์. ภูสฺ อลงฺ-กาเร, ยุ.
  20. มรณพฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ คือความตาย, ทุกข์เครื่องยังสุขให้ฉิบหายคือความตาย, ความตายและความฉิบหาย.
  21. มริสน : (นปุ.) การทน, การอดทน, การอดกลั้น, การทนทาน, ความทน, ฯลฯ. มริสุสหเณ, ยุ. มริสฺ ติติกฺขายํ วา.
  22. มหาสน : (นปุ.) แปลเหมือน มหานส. มหนฺต+อส. ธาตุ ในความกิน ยุ ปัจ.
  23. มุสน : (นปุ.) การลัก, การขโมย. มุสฺ เถยฺเย, ยุ.
  24. โมสน : นป. การลัก
  25. ราชนิเวสน : นป. ราชนิเวสน์, พระราชวัง
  26. รูปทสฺสน : นป. การเห็นรูป
  27. วฺยสน : นป. ความฉิบหาย
  28. วสฺสน : นป. ฝนตก
  29. วาสน : นป. การนุ่งห่ม, การอบ, เครื่องอบ
  30. วิภูสน : นป. การประดับ, เครื่องประดับ
  31. วิเสสน : นป. ความยอดเยี่ยม
  32. วิหึสน : นป. การเบียดเบียน
  33. วีมสน : นป. การทดลอง, การพิจารณา
  34. สนฺทสฺสน : (นปุ.) การแสดง, การชี้แจง. สํปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเน, ยุ. แปลง ทิส เป็น ทสฺส.
  35. สมฺปหสน : (นปุ.) ความร่าเริงทั่วพร้อม, ความรื่นเริงทั่วพร้อม, ความร่าเริงเต็มที่, ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความยินดี, ความยกย่อง. สํ ป ปุพฺโพ, หํส ปีติยํ, ยุ, อ.
  36. สมฺภาสน : (นปุ.) การพูดกัน, การเจรจากัน, การเจรจาปราศรัย, การพูดโต้ตอบกัน, สัมภาษณ์(การพูดแลกเปลี่ยนความคิดกัน). สํปุพฺโพ, ภาสฺ วจเน, ยุ. ส. สมฺภาษณ.
  37. สมฺมสน : (นปุ.) การลูบคลำ, ความลูบคลำ. สํปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ.
  38. สมฺมุสฺสนตา : (อิต.) ความเผลอเลอ, ความเลินเล่อ, ความหลงลืม, สํปุพฺโพ, มุสฺ สมฺโมเส, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน ตา ปัจ. สกัด.
  39. สราสน : (นปุ.) ธนู, ศร. วิ. สรํ อสตีติ สราสนํ. อสุ เขปเน, ยุ.
  40. สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
  41. สาสนทายาท : (ปุ.) บุคคลผู้รับมรดกในศาสนา, บุคคลผู้สืบอายุศาสนา, บุคคลผู้สืบศาสนา.
  42. สาหุทสฺสน : ก. การเห็นดี
  43. สิริยสน : (นปุ.) ที่นอนอันเป็นสิริ, ที่บรรทม.
  44. สิเลสน : (นปุ.) การกอด, การกอดรัด, การสวมกอด, การรวมกัน, การร่วมสมพาส (ร่วมประเวณี), การติดต่อ, การติดต่อกัน, การข้อง, การข้องอยู่, การเกี่ยวข้อง, ยาง, ยางไม้, ยางเหนียว, ตัง (ยางไม้ที่ผสมกับสิ่งอื่นแล้วทำให้เหนียว สำหรับดักนกเป็นต้น). สิลิสฺ อาลิงฺคเน, อ, ยุ.
  45. สีน : กิต. จมแล้ว
  46. สีหาสน : (นปุ.) ราชอาสน์ทอง วิ. สีหากติปฺปธานํ อาสนํ สีหาสนํ, ราชูนํ สุวณฺณขฺจิตํ อาสนํ.
  47. สุทสฺสน : (วิ.) เห็นดี, เห็นงาม, พึงใจ, น่าดู, งาม, งดงาม, สวย.
  48. สุนี : (อิต.) สุนัขตัวเมีย, หมาตัวเมีย. ส. สุนี.
  49. สุนุ : (ปุ.) ลูก, ลูกชาย, บุตร. สุ สนฺธานปาณคพฺภิโมจนสวเนสุ, นุ.
  50. สุวสน : (วิ.) นุ่งห่มผ้าอันงาม. สุนฺทร+วตฺถ+วสน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-340

(0.0409 sec)