Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สั่นสะเทือน, สะเทือน, สั่น , then สน, สนสทอน, สะเทือน, สั่น, สั่นสะเทือน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สั่นสะเทือน, 340 found, display 201-250
  1. สุสฺสน : (นปุ.) ความเหี่ยว, ความแห้ง, ความผาก. สุสฺโสสเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เปน อน.
  2. สูน : ๑. ค. บวม, พอง; ๒. ป. สุนัข
  3. สูนุ : ป. บุตร
  4. เสณ เสน : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว, หนามเล็บเหยี่ยว ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง. สิ พนฺธเน. ณ, น ปัจ. คง ณ ไว้ วิการ อิ เป็น เอ หรือ เส คติยํ.
  5. เสน : (นปุ.) การนอน วิ สยนํ เสนํ. ที่นอน วิ. สยติ อเตรฺติ เสนํ. สิ สยเณ, ยุ.
  6. เสน, เสนก : ป. เหยี่ยวดำ; ที่นอน
  7. เสนาสน : (นปุ.) ที่เป็นที่นอนและที่เป็นที่นั่ง, ที่นอนและที่นั่ง, ที่อยู่ที่อาศัย, ที่อยู่อาศัย, ที่อยู่, เสนาสน์.
  8. เสนาสนคาหาปก : ป. ผู้แจกจ่ายเสนาสนะ
  9. เสนี : (วิ.) ผู้มีกองทหาร, ผู้มีกองทัพ.
  10. เสยฺยาสน : (นปุ.) ที่นอนและที่นั่ง, ที่นอน ที่นั่ง. ไทยใช้เป็นกิริยาว่า นอน เช่น พระไสยาสน์ คือพระนอน.
  11. โสน : (ปุ.) สุนัข, หมา. โสณ ศัพท์แปลง ณ เป็น น.
  12. โสสน : (วิ.) ผาก, แห้ง, เหี่ยว. ยุปัจ.
  13. หสน : (นปุ.) ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความอิ่มใจ. หสฺ หํสฺ วา ปีติยํ, อ, ยุ. ถ้าตั้ง หสฺ ธาตุ พึงลงนิคคหิตอาคม.
  14. หุตาวห, - ตาส, - ตาสน : นป.ไฟ
  15. หุตาสน : (ปุ.) ไฟ. หุต+อสฺ+ยุ ปัจ.
  16. อชฺฌาวสน : (นปุ.) การอยู่, การอยู่ครอบครองการอยู่ปกครอง.ยุปัจ.
  17. อญฺญาตกเวสน : นป. ดู อญฺญาตกเวส
  18. อณีกทสฺสน : (นปุ.) ความเห็นของกองทัพ.
  19. อทสฺสน : (วิ.) ไม่เห็น, หาย, สูญ, หายสูญ, หายไป, เสื่อม, พินาศ.
  20. อธวาสน : นป. การยอมรับ, ความอดกลั้น, ความอดทน
  21. อธิวาสน : (นปุ.) การอยู่ทับ, การอดทน, การรับพร้อม, การรับนิมนต์, การยับยั้ง, ความยับยั้ง, ความอดทน, ความอดกลั้น.ยุปัจ.
  22. อนยพฺยสน : (นปุ.) ความฉิบหายไม่ใช่ความเจริญและทุกข์อันส่ายเสียซึ่งสุขให้พินาศ, ความไม่เจริญและความทุกข์อันยังสุขให้พินาศ. วิ. อนโย จ พฺยสนํ จาติ อนยพฺสนํ.
  23. อนสน : นป. การอดอาหาร, การไม่ได้กินอาหาร
  24. อนสฺสน : นป. ความไม่เสียหาย, การไม่สูญสิ้น
  25. อนิกสฺสน : (นปุ.) ที่ไม่เห็นด้วยจักษุ, อนิทัสสนะ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน.
  26. อนิทสฺสน : ๑. นป. การไม่อธิบาย, การไม่ชี้แจง ; ๒. ค. เห็นไม่ได้, ไม่มีตัวอย่าง
  27. อนิเวสน : (วิ.) ผู้ไม่มีเรือนเป็นที่ตั้ง, ผู้ไม่ติดที่อยู่.
  28. อนึกทสฺสน : (นปุ.) การตรวจกองทัพ, การตรวจพล.
  29. อนุวาสน : นป. ๑. น้ำหอม ; ๒. การอบให้หอม
  30. อปทิสน : นป. การชี้แจง
  31. อพฺยสน : (วิ.) มิได้ทำกรรมอันเป็นแดนแห่งความฉิบหาย.
  32. อภาสน : (นปุ.) การไม่พูด, ความนิ่ง.
  33. อภิทสฺสน : นป. การเห็น, การแสดง
  34. อภิภาสน : นป. การตรัสรู้, ความแจ่มแจ้งในใจ, ความดีใจ
  35. อภิเหสน : นป. ดู อภิหึสนา
  36. อมริสน : (วิ.) ไม่อดทน, ขึ้งเคียด, มักโกรธ.นปุพฺโพ, มริสุสหเน, ยุ.
  37. อลสน : (นปุ.) ความเกียจคร้าน.วิ.นลสนํอลสนํ.
  38. อวฺยสน : นป. ความไม่เสื่อมสูญ, ความไม่ฉิบหาย
  39. อวสฺสน : นป. ไม่ใช่เสียงร้อง, (ของแกะ)
  40. อวสุสฺสน : นป. ความเหี่ยวแห้ง, ร่วงโรย
  41. อวิทฺธสน : (วิ.) ไม่กระจัดกระจาย, ไม่ขจัดขจายไม่สลาย, มีอยู่, คงที่.
  42. อวินาสน : ค . ไม่พินาศ, ไม่ฉิบหาย
  43. อวิภูสน : นป., ค. ไม่ตกแต่ง, ไม่ประดับประดา
  44. อวิเสสน : ก. วิ. โดยไม่แปลก, โดยไม่แตกต่างกัน
  45. อามสน : นป. การแตะต้อง, การลูบคลำ, การถู
  46. อาเวสน : (นปุ.) อาเวสนะ ที่ทำการของศิลปิน, ศาลาทำการของพวกศิลปฺ ทรวดทรง, เรือน. ยุ ปัจ.
  47. อาสสน : นป. ความหวัง, ความประสงค์
  48. อาสึสน : (นปุ.) ความจำนง, ความหวัง, ความปรารถนา. อาปุพฺโพ, สิสฺ ปตฺถนายํ อาสิสิ ปตฺถนายํ วา, โต. ยุ.
  49. อีสทฺทสฺสน : นป. การยิ้ม
  50. อุกฺกาสน : (นปุ.) การไอ, อาการไอ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-340

(0.0461 sec)