Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สั่นสะเทือน, สะเทือน, สั่น , then สน, สนสทอน, สะเทือน, สั่น, สั่นสะเทือน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สั่นสะเทือน, 340 found, display 301-340
  1. มนุญฺญ : (วิ.) อันยังใจให้ฟูขึ้น, อันยังใจให้สูงขึ้น, อันยังใจให้ยินดีโดยยิ่ง, เป็นที่ชอบใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอใจ, เป็นที่ฟูใจ, เป็นที่เจริญใจ, ถูกใจ, พึงใจ, พอใจ, ประเสริฐ, เลิศ, งาม, ดี, ดีนัก. วิ. มนํ ญาเปตีติ มนุญฺญ. มนปุพฺโพ, ญปฺ โตสเน, กฺวิ. แปลง อ ที่ น เป็น อุ ลบ ปฺ ซ้อน ญฺ. มนํ อาภุโส โตเสตีติ วา มนุญฺญ. มนโส โตสนชนนํ วา มนุญฺญ.
  2. โลมหส : ป., โลมหํสน นป. ขนชูชัน
  3. สมฺมปฺปญฺญา : (อิต.) ปัญญาชอบ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม. ปัญญาโดยชอบ. เป็น ต. ตัป.
  4. สมฺมปฺปธาน : (นปุ.) ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้แล้วโดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลพึงตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรที่ตั้งไว้ชอบ. ต. ตัป. ความเพียรชอบ. วิเสสนบุพ. กัม. สมฺมา+ปธาน รัสสะ อา เป็น อ.
  5. สมฺมาสงฺกปฺป : (ปุ.) ความดำริโดยชอบ. ต. ตัป. ความดำริชอบ. วิเสสนบุพ. กัม.
  6. สมฺมาสติ : (อิต.) ธรรมเป็นเครื่องระลึกชอบ. วิ, สมฺมา สรนฺติ เอเตนาติ สมฺมาสติ. สมฺมาปุพฺโพ, สรฺ จินฺตายํ, ติ, รฺโลโป. ความระลึกชอบ. วิ. สมฺมา สติ สมฺมาสติ. วิเสสนบุพ. กัม.
  7. สรล : (ปุ.) สน, มะสัง. วิ. สรติ กาลนฺตรนฺติ สรโล. สรฺ จินตายํ, อโล.
  8. สหสฺสกฺข : (ปุ.) เทวดาผู้มีพระเนตรพันหนึ่ง, เทวดาผู้มีพระเนตรหนึ่งพัน, เทวดาผู้เห็นซึ่งนัยพันหนึ่ง, สหัสสักขะ ชื่อของพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. สหสฺสานิ อกฺขีนิ ยสฺส โส สหสฺสกฺโย. สหสฺสสฺส พหุนฺนํ เทวมนุสฺสานํ จินฺติตตฺถสฺส ทสฺสนสมตฺถตาย สหสฺสกฺโข. สหสฺสํ วา อตฺถํ มุหุตฺเตน จินฺเตสิ ตฺสฺมา สหสฺสกฺโขติ วุจฺจติ. แปลง อกฺขิ เป็น อกฺข.
  9. สาน : (ปุ.) หมา, สุนัข. วิ. สามิกสฺส วจนํ สทฺทํ วา สุณาตีติ สาโน. สุ สวเน, ยุ, อุสฺส อาการตฺตํ. สุนฺ คติยํ วา, อ. สาโณ ปิ. รูปฯ ตั้ง สุนศัพท์ แปลง อุน เป็น อาน.
  10. สุกรเปต : (ปุ.) เปรตมีศรีษะเพียงดังศรีษะแห่งสุกร. เป็น วิเสสนบุพ.กัม. มี ฉ.อุปมพหุพ. เป็นท้อง.
  11. สุญฺญ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สงัด, หาแก่นมิได้, ไม่มีอะไร, หายไป, หายสิ้นไป, สูญ (หมด ไม่มีอะไรเหลือ). วิ. สุนสฺส หิตํสุญฺญํ (เกื้อกูลแก่การไป). สุน+ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ สุนติ ตุจฺฉภาวํ คจฺฉตีติ วา สุญฺญํ. สุนฺ สคติยํ, โย. ส.ศุนย.
  12. สุณ : (ปุ.) สุนัข, หมา, หมาใน. วิ. สามิกสฺส วจนํ สุณาตีติ สุโณ. สุ สวเน, ยุ.แปลง น เป็น ณ, อถวา, สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, อ แปลง น เป็น ณ. รูปฯ ๖๔๗ ตั้ง สุน ศัพท์ แปลง อุน เป็น อุณ.
  13. สุณข : (ปุ.) สุนัข, หมา. วิ. สุนฺทรํ นข เมตสฺสาติ สุณโข. อถวา, สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, โข. แปลง น เป็น ณ. หรือตั้ง สุน ศัพท์ แปลง อุน เป็น อุณข อภิฯ.
  14. สุปุปฺผิตตรุณวนสณฺฑมณฺทิต : (วิ.) (ป่าท.) อันประดับแล้วด้วยชัฎแห่งป่าแห่งต้นไม้ มีดอกอันบานดีแล้วและต้นไม้มีดอกอ่อน. เป็น ต.ตัป. มี ฉ. ตัป. วิเสสนบุพ. กัม. ฉ. ตุล. ฉ. ตุล. อ. ทวัน. และ ฉ. ตัป. เป็นภายใน.
  15. สุริยตฺถงฺคมนกาล : (ปุ.) กาลอันถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้แห่งพระอาทิตย์, กาลเป็นที่อัสดงคนแห่งพระอาทิตย์. วิ สุริโย อตฺถํ คจฺฉติ เอตฺถาติ สุริยตฺถงฺคมโน (กาโล). ยุ ปัจ. นามกิตก์. สุริยตฺถงฺ คมโน จ โส กาโล จาติ สุริยตฺถงฺคมนกาโส. วิเสสนบุพ. กัม.
  16. สุวาณ สุวาน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ, โณ, อุสฺส อุวาเทโส. ศัพท์ต้นแปลง น เป็น ณ. รูปฯ ๖๔๗ ตั้งสุนศัพท์ แปลง อุน เป็น อุวาน.
  17. โสณฺฑา : (อิต.) สถานที่ทำไว้เพื่อดื่มสุรา, โรงสุรา, ร้านสุรา. สนฺ ทาเน, อสฺโสตฺตํ, วณฺณวิกาโร จ.
  18. โสนก : (ปุ.) ต้นเพกา. สุนฺ คติยํ, ณฺวุ.
  19. โสสานิก : (วิ.) ผู้อยู่ในป่าช้า วิ. สุสาเน วสตีติ โสสานิโก. ผู้มีการอยู่ในป่าช้าเป็นปกติ วิ. สุสาเน วสนํ สีลมสฺสาติ โสสานิโก. ผู้มีปกติอยู่ในป่า วิ. สุสาเน วสนสีโล โสสานิโก. ผู้อยู่ในป่าช้าเป็นวัตร. ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท.
  20. หึสา หึสนา : (อิต.) การเบียดเบียน, ฯลฯ. ยุ อ ปัจ. ส. หึสน, หึสา.
  21. เหตุปจฺจย : (ปุ.) ปัจจัยอันเป็นเหตุ, ปัจจัยที่เป็นเหตุ. วิเสสนบุพ. กัม.
  22. อฏฺฐารสโกฏิธน : (นปุ.) ทรัพย์มีโกฎิสิบแปด เป็นประมาณ. อสมาหารทิคุ. กัม. อฏฺฐา รส โกฏิโย อฏฺฐารสโกฏิโย. ฉ. ตุล. อฏฺฐารสโกฏิโย ปมาณานิ ยสฺส ตํ อฏฺฐารสโกฏิปมาณํ (ธนํ) วิเสสนบุพ. กัม. อฏฺฐารสโกฏิปมาณํ ธนํ อฏฺฐารสโกฎธินํ. เป็นมัชเฌโลบ.
  23. อฏฺฐารสโกฏิธน : (นปุ.) ทรัพย์มีโกฎิสิบแปดเป็นประมาณ.อสมาหารทิคุ.กัม.อฏฺฐารสโกฏิโยอฏฺฐารสโกฏิโย.ฉ.ตุล.อฏฺฐารสโกฏิโยปมาณานิยสฺสตํอฏฺฐารสโกฏิปมาณํ(ธนํ)วิเสสนบุพ. กัม.อฏฺฐารสโกฏิปมาณํธนํอฏฺฐารสโกฎธินํ.เป็นมัชเฌโลบ.
  24. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  25. อนฺเตวาสิกวาส : (ปุ.) คนผู้มีการอยู่ในภายในเป็นปกติ, คนผู้มีปกติอยู่ในภายใน, ศิษย์. วิ. อาจริยสฺส อนฺเต สมีเป วสนสีโล อนฺเตวาสี.อนฺเต วาวาสีอนฺเตวาสี.ส. อนฺเตวาสินฺ.
  26. อนมตคฺค : (วิ.) มีที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามอยู่รู้ไม่ได้แล้ว, มีวิ.ตามลำดับ ดังนี้ปเรกเสสทวัน. อคฺโค จ ปุพฺโพ จ อคฺคา.วิเสสนบุพ.กัม.อนุคจฺฉิยมานา จ เตอคฺคาจาติอนุคจฺฉิมานคฺคา.นบุพ.กัม. น มตา อนมตา (อนุคจฺฉิยมานคฺคา)วิเสสน บุพ.กัม.อนมตาจเตอนุคจฺ-ฉิยมานคฺคาจาติอนมตคฺคา.ตทัสสิตัท.อนมตคฺคาอสฺสอตฺถีติอนมตคฺโค (สํสาโร วฎฺฎสํสาโร).มีสำนวนแปลอีกคือมีที่สุดอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว, มีที่สุดอันบุคคลไม่รู้แล้ว, มีที่สุดและเบื้องต้นอันใครๆ ไปตามไม่รู้แล้ว, มี่ที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว.
  27. อปฺปิจฺฉตาทิคุณยุตฺต : (วิ.) ผู้ประกอบแล้วด้วยคุณมีความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อยเป็นต้น.เป็นฉ.ตุล.ตา ปัจ.ภาวตัท.ฉ.ตุล.วิเสสนบุพ.กัม.และต.ตัปเป็นสมาสใหญ่.
  28. อปุตฺตกเสฏฐิวตฺถุ : (นปุ.) เรื่องของเศรษฐีผู้ไม่มีบุตรมีวิ.ตามลำดับดังนี้-นปุพ.พหุพ.นตฺถิตสฺสปุตฺตาติอปุตฺตโกกสกัด.วิเสสนบุพ.กัม.อปุตฺตโก จ โสเสฏฺฐีจาติอปุตฺตกเสฏฺฐี.
  29. อรญฺญิก : (วิ.) ผู้มีการอยู่ในป่าเป็นปกติ, ผู้มีการอยู่ในป่าเป็นวัตร.วิ.อรญฺเญวสนํสีลมสฺ-สาติอรญฺญิโก.อรญฺเญวาวสนสีโลอรญฺญิโก.ผู้อยู่ในวิหารอันตั้งอยู่ในป่าวิ.อรญฺเญปติฏฺฐวิหาเรวสตีติอรญฺญิโก.มีอยู่ในป่าวิ.อรญฺเญอตฺถีติอรญฺญิโก อรญฺเญภโววาอรญฺญิโก.ตั้งอยู่ในป่าวิ.อรญฺเญติฏฺฐตีติอรญฺญิโก.อิกปัจ.ตทัสสัตถิตัท.
  30. อายติชาติชรามรณีย : (วิ.) อันเป็นที่ตั้งแห่งชาติและชราและมรณะต่อไป.เป็นฐานตัท.มีส. ทวันและวิเสสนบุพ.กัม. เป็นท้อง.
  31. อาส : (ปุ.) ความปรารถนา. อสุ อิจฺฉายํ, โณ. ส. อาศํสน อาศํสา.
  32. อาสสา : อิต. ดู อาสํสน
  33. อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
  34. อิสิ : (ปุ.) ฤาษี, ฤษี (ผู้แสวงหาคุณความดี ผู้ถือบวช), บุคคลผู้แสวงหา, บุคคลผู้ แสวงหาความดี, บุคคลผู้ปรารถนาดี. วิ. สิวํ อิจฺฉตีติ อิสิ. อิสฺ คเวสนอิจฺฉาสุ, อิ. อิสิ เป็นชื่อของพระอิรยะ เป็นพระนามของ พระพุทธเจ้า ก็มี. ส. ฤษิ.
  35. อุทฺเทส : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, การยกขึ้น ชี้แจง, การยกขึ้นอ้างอิง, การแสดง, การชี้แจง, การบรรยาย, การสวด, คำชี้แจง, คำอธิบาย, พระปาติโมกข์ ชื่อพระบาลีที่ ยกขึ้นสวดทุกกึ่งเดือน, อุเทศ คือ การจัด อย่างสังเขปรวมเป็นข้อ ๆ ไว้ การสอน หรือการเรียนพระบาลี. อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสนอติสชฺชเนสุ, โณ, ทฺสํโยโค. ส. อุทฺเทศ.
  36. อุปชฺฌายาทิวตฺต : (นปุ.) วัตรอัน...พึงประพฤติ โดยชอบในอุปการชน มีพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น. มี วิ. ตามลำดับดังนี้.- ฉ. ตุล. อุปชฺฌาโย อาทิ เยสํ เต อุปชฺฌา- ยาทโย (อุปการชนา) วิเสสนปุพ. กัม. อุปชฺฌาทโย อุปการชนา อุปชฺฌายาทิอุปการชนา. ส. ตัป. อุปชฺฌายาทิอุปการชเนสุ สมฺมา- จริตพฺพํ วตฺตํ อุปชฺฌายาทิวตฺตํ. วัตรมีวัตรเพื่อพระอุปัชฌาย์ เป็นต้น มี วิ. ดังนี้.- จ. ตัป. อุปชฺฌายสฺส วตฺตํ อุปชฺฌายวตฺตํ. ฉ. ตุล. อุปชฺฌายวตฺตํ อาทิ เยสํ ตานิ อุปชฺฌายาทีนิ (วตฺตานิ). วิเสสนบุพ. กัม. อุปชฺฌายาทีนิ วตฺตานิ อุปชฺฌายาทิวตฺตานิ.
  37. อุลฺโลจ : (ปุ. นปุ.) ผ้าดาดเพดาน, ผ้าเพดาน, เพดาน, ปะรำ. วิ. อุทฺธํ โลจยเต พนฺธียเตติ อุลฺโลจํ. อุทฺธํปุพฺโพ, ลุจฺ ทสฺสนพนฺธเนสุ, โณ. ส. อุลฺโลจ.
  38. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  39. เอกลกฺขณ : (นปุ.) เครื่องหมายว่าเป็นหนึ่ง, ลักษณะว่าเป็นหนึ่ง. เอก + อิติ + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันเป็น หนึ่ง, ลักษณะอันเป็นเอก. เอก + ลักฺขณ. เครื่องหมายแห่งความเป็นหนึ่ง, เครื่องหมายแห่ง ความเป็นเอก, ลักษณะแห่ง ความเป็นหนึ่ง, ลักษณะแห่งความเป็น เอก. เอกภาว + ลกฺขณ. เครื่องหมายอันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะ อันแสดงถึงความเป็นหนึ่ง, ลักษณะอันแสดงถึง ความเป็นเอก, ลักษณะที่แสดงความเป็น เอก (ของสิ่งนั้น ๆ). เอกภาว + เทสน + ลกฺขณ. ลบศัพท์ในท่ามกลาง. ส. เอก ลกฺษณ. ไทยใช้ เอกลักษณ์ ตามสันสกฤต ออกเสียงว่า เอกกะลักษณ์ ในความหมาย ว่า ลักษณะที่เหมือนกันหรือมีร่วมกัน.
  40. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-340]

(0.0532 sec)