Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เจ้าระเบียบ, ระเบียบ, เจ้า , then จา, จารบยบ, เจ้, เจ้า, เจ้าระเบียบ, ระเบียบ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เจ้าระเบียบ, 362 found, display 251-300
  1. มิจฺฉาวาจา : อิต. พูดผิด
  2. มุทุกวาจา : (อิต.) คำอ่อนโยน, ฯลฯ.
  3. โมจาปน : นป. เหตุแห่งความหลุดพ้น,ความหลุดพ้น
  4. วาจาเปยฺย : นป. การพูดอ่อนหวาน
  5. วิจารก : ป. ผู้สอบสวน, ผู้จัดการ
  6. วิจารณ : นป., -ณา อิต.ดู วิจาร
  7. วิจาเรติ : ก. พิจารณา, ไตร่ตรอง
  8. สญฺจารณ : นป. การให้เที่ยวไป, การให้ประพฤติ
  9. สญฺจาริกา : อิต. แม่สื่อ
  10. สญฺจาเรติ : ก. ให้เที่ยวไป
  11. อจฺจายิก : ค. เร่งรีบ, รีบด่วน
  12. อจฺจาสนฺน : ค. ใกล้มาก, จวนเจียน
  13. อจฺจาหิต : ค. ร้ายมาก, ทารุณ
  14. อติจารินี : อิต. หญิงที่ล่วงละเมิด, หญิงที่ประพฤตินอกใจ
  15. อนติจาริณี : (อิต.) หญิงผู้ไม่ประพฤตินอกใจ.
  16. อนุจฺจาริต : ค. ไม่ออกเสียง, ไม่ถูกยกขึ้น
  17. อปจายก, อปจายิก, อปจายี : ค. ผู้นอบน้อม, ผู้เคารพนับถือ
  18. อปจายติ : ก. เคารพ, ยำเกรง, นับถือ
  19. อปจายี : (วิ.) ผู้ยำเกรง, ผู้เคราพ, ผู้นับถือ, ผู้บูชา.
  20. อภิสมาจาริกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันกล่าวถึงขนบธรรมเนียมอันดีของภิกษุ, สิกขาอันเป็นอภิสมาจารเป็นสิกขามานอกพระปาติ-โมกข์ไม่มีจำนวนบอกไว้.
  21. อวิจาเรติ : ก. ไม่วิจารณ์, ไม่พิจารณา
  22. อาจารวิปตฺติ : (อิต.) อันเคลื่อนคลาดโดยความประพฤติ, อาจารวิบัติ, (เสียมารยาททางความประพฤติ, ความประพฤติเสีย).
  23. อาจาริณี : อิต. ครู – อาจารย์เป็นผู้หญิง ; ภรรยาของอาจารย์
  24. อาโรจาปน : นป. การบอก, การประกาศ, การโฆษณา
  25. อาโรจาเปติ : ก. ให้บอก, ให้ประกาศ
  26. อิทสจฺจาภินิเวส : (ปุ.) ความยึดมั่นว่าสิ่งนี้มีจริง. แปลง อิม เป็น อิทํ เมื่ออยู่หน้าบทสมาส.
  27. อุจฺจากุลีน : ค. มีตระกูลสูง, ผู้ดี
  28. อุจฺจารกรณฏฺฐาน อุจฺจารฏฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็น ที่ถ่ายอุจจาระ, ส้วม, ถาน (ส้วมของพระ).
  29. อุจฺจารณ : (วิ.) เปล่ง, เทสนา, ชี้แจง, แถลง, บรรยาย, แสดง, สวด. อุปุพฺโพ, จรฺ คติยํ, ยุ.
  30. อุจฺจาเรติ : ก. เปล่งเสียง, ชูขึ้น
  31. อุจจาลิงฺค : (ปุ.) บ่วง, แร้ว, จั่น.
  32. อุจฺจาสยน : นป. ที่นอนสูง, ที่นอนหรูหรา
  33. อุจฺจาสยนมหาสยน : (นปุ.) ที่นอนสูงและที่ นอนใหญ่.
  34. โอมุญฺจาเปติ : ก. ให้นำออก, ให้แก้ออก
  35. จาค : (ปุ.) การสละ, การให้, การให้ปัน, การบริจาค, ความสละ, ฯลฯ. จชนํ จาโค. จชฺ หานิมฺหิ (สละ), โณ. แปลง ช เป็น ค หรือตั้งหา ธาตุในความสละ วาง ปล่อย ณ ปัจ. เทว๎ภาวะ หา แปลง หา เป็น จา แปลง ห ตัวธาตุเป็น ค. ส. ตฺยาค.
  36. กปฺปกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นไปแห่งกัป, ขัยกัป, ขัยกัลป์. วิ. กปฺโป จ โส ขโย จาติ กปฺปกฺขโย. ซ้อน กฺ.
  37. กาปุริส : (ปุ.) บุรุษอันบัณฑิตพึงเกลียด, บุรุษชั่ว, คนชั่ว, คนชั่วร้าย, คนเลว. วิ. กุจฺฉิตพฺโพ จ โส ปุริโส จาติ กาปุริโส, ลบอักษรศัพท์หน้า เหลือแต่ กุ แปลง กุ เป็น กา.
  38. กาเมสุมิจฺฉาจาร : (วิ.) (ประโยค) อันเป็น เครื่องประพฤติผิดในกามท. วิ. กาเมสุมิจฺ ฉาจรนฺติ เอเตนาติ กาเมสุมิจฺฉาจาโร.
  39. กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
  40. กาฬายส : (นปุ.) เหล็ก วิ. กาฬญฺจ ตํ อยสญฺ จาติ กาฬายสํ.
  41. กีมิ : (ปุ.) หนอน, ฯลฯ. วิ. ปจฺจามิตฺเต กีณาตีติ กีมิ. กี หึสายํ, มิ. ดู กิ หึสายํ.
  42. กุนฺต : (ปุ.) หลาว, ทวน, กุ วิย อสิ วิย ปจฺจา มิตฺตานํ สรีรํ ตียตีติ กุนฺโต. กุปุพฺโพ, ติ เฉทเน, อ, นิคฺคหิตาโม. กมตีติ วา กุนฺโต. กมุ ปทวิกฺเขเป, โต, ตสฺส นฺตาเทโส ธาตฺ วนฺตสฺส โลโป, อสฺสุ, กนฺตฺ เฉทเน วา, อสฺส. ส. กุนฺต.
  43. กุมฺภถูณ กมฺภถูน : (ปุ. นปุ.) เถิดเทิง (กลองยาว) กุมฺโภ จ โส ถูโณ จาติ กุมฺภถูโณ. อถวา, กุมฺภสณฺฐานตฺตา กุมฺโภ จ ถูณนคเร สมฺภูตตฺตา ถูณญฺจาติ กุมฺภูณํ. ฎีกาอภิฯ เป็น กุมฺภถุณ ตั้ง ถุ อภิตฺถเว, โณ. ไม่ลบ ณ ปัจ. หรือ ถุณฺ ปูรเณ, อ.
  44. กุรุ : (ปุ.) กุรุ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒o ของอินเดีย โบราณ วิ. ธมฺมตา สิทฺธสฺส ปญฺจสีลสฺส อานุภาเวน กํ สุขํ อุรุ มหนฺตา เอตฺถาติ กุรุ. กํ ปาปํ รุนฺธติ เอตฺถาติ วา กุรุ. กุปุพฺโพ, รุธิ อาวรเณ, กฺวิ. กุรติ กิจฺจากิจฺจํ วทตีติ วา กุรุ. กุรฺ สทฺเท. อุ. เป็น กุรู ด้วยรุฬ- หิเภทบ้าง.
  45. ขณมุหุตฺต : (ปุ.) ขณะมุหุต สิบมุหุตตะ เป็น ขณมุหุตตะ, ขณะครู่หนึ่ง. วิ ขโณ จ โส มุหุตโต จาติ ขณมุหุตฺโต.
  46. ขตฺติมหาสาล : (ปุ.) กษัตริย์ผู้มหาศาล วิ. มหนฺโต ธนสาโร เยสํ เต มหาสาลา. แปลง ร เป็น ล. ขตฺติโย จ โส มหาสาโล จาติ ขตฺติยมหาสาโล.
  47. คามธมฺม : (ปุ. นปุ.) เรื่องของชาวบ้าน, กิจของ ชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติ อยู่ในบ้าน, ความประพฤติของชาวบ้าน, ความประพฤติของคนผู้มีปกติอยู่ในบ้าน, เมถุน (การร่วมสังวาส). วิ. คามวาสีนํ ธมฺโม อาจาโร คามธมฺโม.
  48. จตุมฺมหาราชิก : ค. จาตุมมหาราชิกะ, (หมู่เทวดา)ผู้เป็นบริวารของท้าวจาตุมมหาราชอยู่ในชั้นจาตุมมหาราชซึ่งเป็นสวรรค์ชั้นที่หนึ่ง
  49. จาคธน : นป. ทรัพย์คือจาคะ, ทรัพย์คือการให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน (เป็นอริยทรัพย์อย่างหนึ่งในอริยทรัพย์เจ็ด)
  50. จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบสี่ วิ. จตฺตาโร จ ทสา จาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตูหิ วา อธิกา ทสาติ จุทฺทส โจทฺทส วา. จตุ+ทส ลบ ตุ แปลง จ เป็น จุ, โจ ลง โย วิภัตินาม ลบโยรูปฯ๒๕๖,๓๙๑. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๐ ว่าแปลง จตุ เป็น จุ, โจ ซ้อน ทฺ เป็น จุทส โจทส โดยไม่ซ้อนบ้าง.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-362

(0.0502 sec)