Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เจ้าระเบียบ, ระเบียบ, เจ้า , then จา, จารบยบ, เจ้, เจ้า, เจ้าระเบียบ, ระเบียบ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เจ้าระเบียบ, 362 found, display 301-350
  1. โจลกโจฬก : (นปุ.) โล่, ดาบ, ทับทรวง ชื่อ เครื่องประดับที่คอหรืออก ถ้าประดับม้า ใช้ประดับที่หน้าผาก. จุ จวเน จาวเน วา. โล, โฬ.
  2. ชาตสร ชาตสฺสร : (ปุ.) สระอันเกิดแล้ว วิ. ชาตํ อปจฺจํ เอติสฺสาติ ชาตาปจฺจา. ชาโต วา ปุตฺโต เอติสฺสาติ ชาตาปจฺจา.
  3. เชตุตฺตร : (นปุ.) เชตุดร ชื่อนครพิเศษ ๑ ใน ๒0 ของอินเดียโบราณ. วิ. เจติยรรฏฺเฐ อุตฺตมตฺตา เชตุตฺตรํ. แปลง จ เป็น ช ม เป็น ร. เวริชยฏฺฐานตฺตา เชตพฺพํ จ ตํ อุตฺตมตฺตา อุตฺตรํ จาติ วา เชตุตฺรํ. เป็น เจตุตฺตร บ้าง.
  4. ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
  5. ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
  6. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  7. เตรส เตฬส : (ไตรลิงค์) สิบสาม วิ. ตโย จ ทส จาติ เตรส. ตีหิ วา อธิกาติ เตรส. แปลง ติ เป็น เต ศัพท์หลังแปลง ร เป็น ฬ. รูปฯ ๓๙๖.
  8. ทกฺข : (วิ.) มีฝีมือ, ขยัน, ขันแข็ง, แข็งแรง, ฉลาด, สามารถ, เร็ว, ว่องไว, คล่องแคล่ว, ชำนาญ, เหมาะ, สันทัด. วิ. ทกฺขติ กุสลธมฺเม อญฺญสฺมิญฺจ กิจฺจากิจฺเจ อทนฺธตาย สีฆํ คจฺฉตีติ ทกฺโข. ทกฺขฺ วุฑฺฒิหึสาคติสีเฆสุ, อ. ทลฺ ทิตฺติยํ วา, โข, ลสฺส โก. ส. ทกฺษ.
  9. ทฺวชมหาสาล ทฺวิชมหาสาฬ : (ปุ.) พราหมณ์ มหาสาล วิ . มหนฺโต ธนสาโร ยสฺส โส มหาสาโล. แปลง ร เป้น ล. ทฺวิโช จ โส มหาสาโล จาติ ทฺวิชมหาสาโล. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  10. ทฺวาทส ทฺวารส พารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่ง ด้วยสอง, สิบสอง. วิ ทฺวีหิ อธิกา ทสาติ ทฺวาทส. เทฺว จ ทส จาติ วา ทฺวาทส. แปลง อิ ที่ ทฺวิ เป็น อา แปลง ท เป้น ร เป็น ทฺ วารส แปลง ทฺวิ เป็น พา เป็น พารส ส. ทฺวาทศ.
  11. ทฺวิช : (ปุ.) พราหมณ์ ชื่อคนวรรณะที่ ๒ ในวรรณะ ๔ วิ. กุลาจารพฺราหฺมณวเสน ทฺวิกฺขตฺตํชาตตฺตตา ทฺวิโช. ฟัน (กระดูกเป็นซี่ๆ อยู่ในปาก) วิ. ทฺวีสุ ฐาเนสุ ทฺวิกฺขตฺตุ วา ชายเตติ ทฺวิโช. สัตว์ผู้เกิดสองหน, นก. วิ. มาตุกุจฺฉิโต อณฺฑโต จาติ ทฺวิกฺขตฺตุชาตตฺตา ทฺวิโช. ส. ทฺวิช.
  12. ทฺวิป ทฺวิรท : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. กเรน มุเขน จาติ ทฺวีหิ ปิวตีติ ทวิโป. ทฺวิปุพฺโพ, ปา ปาเน, กฺวิ. เทฺวา รทา ยสฺส โส ทฺวิรโท. ส. ทฺวิป, ทฺวิรท, ทฺวิราป.
  13. ทุคคสญฺจาร : (ปุ.) การเดินทงไปในที่อัน...ได้โดยยาก วิ. ทุคคสฺส สญฺจาโร.ทุคคสญฺจาโร, หักฉัฎฐีเป็นสัตตมี. ส. ทุรฺคสํจาร ทุรฺคสญฺจาร.
  14. ธญฺญมาส : (ปุ.) ธัญญามาส ชื่อมาตรานับ ๗ อูกาเป็น ๑ ธัญญมาส. ธญฺโญ วีหิ เยว ปริมาณิตพุพตฺตา มาโส จาติ ธญฺญมาโส.
  15. ธมฺมจาร : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรตีติ ธมฺมจาโร. ณ ปัจ.
  16. ธมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งธรรม, ฯลฯ. คำแปล อีก และ วิ. เลียนแบบ ธมฺมจารีง
  17. นกฺขตฺต : (นปุ.) ลาว, ดวงดาว, ดาวฤกษ์, ฤกษฺ (ดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊ส ทรงกลมสามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว), นักษัตร (ดาวฤกษ์มี ๒๗ กลุ่ม). วิ.ปุนปฺปุนํ อุทยโต น ขียเตติ นกฺขตฺตํ. นปุพฺโพ, ขี ขเย. โต. แปลง อี เป็น อ แปลง ต เป็น ตฺต ซ้อน กฺ. อตฺตโน คมนฏฐานํ น ขรติ น วินาเสตีติ วา นกฺขตฺตํ ขรฺ ขเย, นกฺขตีติ วา นกฺขตฺตํ. นกฺขฺ คติยํ, โต. เอตโต อิโต จาติ วิสมคติยา อคนฺตฺวา อตฺตโน วีถิยา ว คมเนน นกฺขนํ คมนํ ศายตีติ วา นกฺขตฺตํ. ตา เต วา ปาลเน. ส. นกฺษตฺร.
  18. นปุสก : (ปุ.) บัณเฑาะก์ (กะเทย), กะเทย (คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง หรือ คนที่มีจิตใจกิริยาอาการตรงกันข้ามกับเพศของตน). คนมิใช่ชายมิใช่หญิง, คนมิใช่ หญิงมิใช่ชาย. วิ. อิตฺถีภาวปุมภาวรหิโต ปุคฺคโล, โส หิ ปุริโส วย สาติสยํ ปจฺจา- มิตฺเต น ปุเสติ อภิมทฺทนํ กาตํ น สกฺโกตีติ นปุสโก (ข่มขี่ข้าศึกไม่ได้). นปุพฺโพ. ปุสฺอภิมทฺทเน, ณฺวุ, นิคฺคหิตาคโม, เกจิ ปน น ปุมา น อิตฺถีติ นปุสโกติ ลจนตฺถํ วทนฺติ.
  19. นิคฺคหิต นิคฺคหีต : (นปุ.) นิคหิต ชื่อ พยัญชนะตัวที่ ๓๓ เป็นรูป “ ํ ” ซึ่งต้อง อาศัยสระ อ อิ อุ ออกเสียงเป็น อัง อิง อุง. วิ. รสฺสรํ นิสสาย คยฺหติ อุจฺจารียตีติ นิคฺคหิตํ กรณํ นิคฺคหิตฺวา อวิวเฏน มุเขน คยฺหติ อุจฺจารียตีติ วา นิคฺคหิตํ.
  20. นิปฐ นิปาฐ : (ปุ.) การอ่าน, การฉลาดสอน, ความฉลาดสอน, การอธิบาย, การชี้แจง นิปุพฺโพ, ปฐ วิยตฺติวาจาวิขฺยาเนสุ, อ, โณ.
  21. ปถ : (ปุ.) ทาง, หนทาง, ถนน, คลอง, แถว, แนว, ถิ่น. วิ. ปถติ เอตฺถาติ ปโถ. ปถติ อเน นาติ วา ปโถ. อุปฺปนฺนกิจฺจากิจฺเจหิชเนหิ ปถียตีติ วา ปโถ. ปถฺ คติยํ, อ. ถ้ามาคู่กับ อุปถ อุปฺปถ ทางผิด แปล ปถ ว่า ทางถูก.
  22. ปรทาริกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของคนผู้ถึงซึ่ง ภรรยาของคนอื่น วิ. ปรทาริโก จ โส ปุคฺคโล จาติ ปรทาริกปุคฺคโล. ปรทาริก ปุคฺคลสฺส กมฺมํ ปรทาริกกมฺมํ.
  23. ปาเจติ : ก. ดู ปาจาเปติ
  24. ปุพฺพวิเทห : (ปุ.) บุพวิเทหะ ชื่อทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. เวเทน ปญฺญาย อีหนฺติ เอตฺถาติ เวเทโห. โส เอว วิเทโห. อิมํ ทีปมุปาทาย สิเนรุโต ปุพฺพาทิสาภาคตฺตา ปุพฺโพ จ โส วิเทโห จาติ ปุพฺพวิเทโห.
  25. โภคินี : (อิต.) หญิงผู้มีทรัพย์, ฯลฯ, อันเตปุริกนารี (หญิงอื่นจากมเหษี).
  26. มงฺค : (ปุ.) สภาพผู้ทั้งฆ่าทั้งยังสัตว์ให้ถึงอบาย. ม+ค ลง นิคคหิตอาคม แปลงเป็น งฺ วิ. โม จ โส โค จาติ มงฺโค. ภาวะยังสัตว์ให้ถึงอบาย. ม (อปาย)+คมฺ+ร ปัจ.
  27. มริยาท : (ปุ.) อาจาระ, มรรยาท, มารยาท (กิริยาที่ถือว่าเรียบร้อย). กฏ. วิ. ปริจฺฉินฺทิตฺวา อาทียเตติ มริยาทา. ปริ อาปุพฺโพ, ทา อาทาเน, อ. แปลง ป เป็น ม ยฺ อาคม. ศัพท์หลัง อา อิต. เป็น มาริยาทา ก็มี. ส. มรฺยาท.
  28. มหานิสา : (อิต.) เวลาเที่ยงคืน, เที่ยงคืน. วิ. มหตี จ สา นิสา จาติ มหานิสา.
  29. มหินฺท : (ปุ.) มหินทะ ชื่อของพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. มหตํ เทวานํ อินฺโท ราชาติ มหินฺโท. มหนฺโต จ โส อินฺโท จาติ วา มหินฺโท.
  30. มิค : (ปุ.) เนื้อ ชื่อของสัตว์ป่า มีกวาง อีเก้ง เป็นต้น ปศุ สัตว์เลี้ยง สัตว์ของเลี้ยง จามจุรี จามรี สองคำนี้เป็นชื่อของเนื้อทราย มีขนละเอียดหางยาวเป็นพู่เป็นสัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค. วิ. มียติ มํสํ ขาทิตุกามิเคหิ จาติ มิโค. มิ หึสายํ, โค. อิโต จิโต จ โคจรํ มเคตีติ วา มิโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. แปลง อ ที่ ม เป็น อิ. มคฺคียติ มํสาทิอตฺถิเกหิ ลุทฺเทหีติ วา มิโค. มคฺคฺ คเวสเน, อ. ลบ ค. สังโยค. หรือตั้ง มรฺ ปาณจาเค, อ, รสฺส โค, อิตฺตญฺจ.
  31. มิจฺฉาจาร : (ปุ.) ความประพฤติผิด. วิ. มิจฺฉาจรณํ มิจฺฉาจาโร. มิจฺฉา วา จาโร มิจฺฉาจาโร.
  32. เมถุน : (นปุ.) ความประพฤติของคนคู่ คือ หญิงและชายผู้มีความพอใจเสมอกัน, อัชฌาจารของคนคู่กัน, ความยินดีของคนคู่กัน, การร่วมสังวาส. วิ. มิถุนานํ อิตฺถีปุริสานํ สมานฉนฺทานํ อาจาโร เมถุนํ. ณ ปัจ.
  33. สงฺการโคฬ : นป. ผ้าขี้ริ้วจากกองหยากเยื่อ
  34. สุริยตฺถงฺคมนกาล : (ปุ.) กาลอันถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้แห่งพระอาทิตย์, กาลเป็นที่อัสดงคนแห่งพระอาทิตย์. วิ สุริโย อตฺถํ คจฺฉติ เอตฺถาติ สุริยตฺถงฺคมโน (กาโล). ยุ ปัจ. นามกิตก์. สุริยตฺถงฺ คมโน จ โส กาโล จาติ สุริยตฺถงฺคมนกาโส. วิเสสนบุพ. กัม.
  35. หล หฬ : (ปุ.) คนพาล คือคนอ่อน อายุยังน้อยอยู่ ไม่ใช่คนเกเร, เด็ก. วิ. โหเลติ ภูมึ ภินฺทนฺโต มตฺติกภณฺฑํ จาเลตีติ หโล หโฬ วา. หฺลฺ หฬฺ วา วิเลขเน, อ. หุลฺ กมฺปเน วา. แปลง อุ เป็น อ.
  36. อกิตฺติ : (อิต.) วาจาไม่ใช่วาจาเครื่องสรรเสริญ, วาจาเป็นปฎิปักษ์แก่วาจาสรรเสริญ, การนินทา, การติเตียน, ความนินทา, ความติเตียน, ความไม่มีมีเกียรติ, ความเสื่อมเกียรติ.
  37. อชฺฌาจาร : (ปุ.) ความประพฤติล่วง, ความประพฤติล่วงมารยาท, ความล่วง (หมายเอาเมถุน), อัชฌาจารอัธยาจาร(การละเมิดประเพณีการเสพเมถุนความประพฤติชั่วความประพฤติละเมิดพระวินัย)ฏีกา ฯแก้เป็นมริยาทาติกฺกมการล่วงละเมิดมารยาท.
  38. อฑฺฒรตฺต : (ปุ. นปุ.) เที่ยงคืน, เวลาเที่ยงคืน, ครึ่งคืน, กึ่งราตรี.วิ.รตฺติยาอฑฺฒํอฑฺฒรตฺโต.อฑฺฒญฺจตํรตฺติจาติวาอฑฺฒรตฺโต.รตฺติยาวาอฑฺฒํอฑฺฒรตฺตํ.วิปริยโย(กลับบทหน้าไว้หลัง).
  39. อติจฺจ : (อัพ. นิบาต) เกิน, ยิ่ง.อติ+อิจฺจ.อิจฺจมาจากอิ ธาตุ ตฺวา ปัจ.แปลง ตฺวาเป็นรจฺจ.
  40. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  41. อนฺธตมอนฺธนฺตม : (ปุ. นปุ.) ความมืดคือบอด, ความมืดบอด, ความมืดทึบ, ความมืดตื้อ, ความมืดมน (มืดแปดด้าน) มืดมิด.วิ. อนฺธญฺจตํตมญฺจาติอนฺธตมํอนฺธนฺตมํ วา
  42. อนฺธตม อนฺธนฺตม : (ปุ. นปุ.) ความมืดคือบอด, ความมืดบอด, ความมืดทึบ, ความมืดตื้อ, ความมืดมน (มืดแปดด้าน) มืดมิด. วิ. อนฺธญฺจ ตํ ตมญฺจาติ อนฺธตมํ อนฺธนฺตมํ วา
  43. อนมตคฺค : (วิ.) มีที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามอยู่รู้ไม่ได้แล้ว, มีวิ.ตามลำดับ ดังนี้ปเรกเสสทวัน. อคฺโค จ ปุพฺโพ จ อคฺคา.วิเสสนบุพ.กัม.อนุคจฺฉิยมานา จ เตอคฺคาจาติอนุคจฺฉิมานคฺคา.นบุพ.กัม. น มตา อนมตา (อนุคจฺฉิยมานคฺคา)วิเสสน บุพ.กัม.อนมตาจเตอนุคจฺ-ฉิยมานคฺคาจาติอนมตคฺคา.ตทัสสิตัท.อนมตคฺคาอสฺสอตฺถีติอนมตคฺโค (สํสาโร วฎฺฎสํสาโร).มีสำนวนแปลอีกคือมีที่สุดอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว, มีที่สุดอันบุคคลไม่รู้แล้ว, มีที่สุดและเบื้องต้นอันใครๆ ไปตามไม่รู้แล้ว, มี่ที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว.
  44. อนยพฺยสน : (นปุ.) ความฉิบหายไม่ใช่ความเจริญและทุกข์อันส่ายเสียซึ่งสุขให้พินาศ, ความไม่เจริญและความทุกข์อันยังสุขให้พินาศ. วิ. อนโย จ พฺยสนํ จาติ อนยพฺสนํ.
  45. อนุปุพฺพิกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งธรรมมีในเบื้องต้น, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งที่อันมีในเบื้องหน้า, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรมโดยลำดับ, ถ้อยที่แสดงไปตามลำดับ, การกล่าวโดยลำดับวิ.อนุปุพฺเพน กถาอนุปุพฺพิกถา.แปลงอที่สุดศัพท์เป็นอิหรือลงอิอาคมเป็นอนุปุพฺพีกถาโดยแปลง อเป็นอีบ้าง.อนุปุพฺพ เป็นต้นเมื่อเข้ามาสมาสกับศัพท์ที่สำเร็จมาจากกรฺกถฺธาตุจะแปลงอของศัพท์ต้นเป็นอิหรืออีเสมอ.
  46. อปจย : (ปุ.) การเคราพ, การบูชา.อปปุพฺโพ, จายุ ปูชายํ, อ. รัสสะอาเป็นอ.ส. อปจย.
  47. อปจายน : (นปุ.) การแสดงความเคราพ, การนับถือ, การประพฤติถ่อมตน, การอ่อนน้อม, ความประพฤติถ่อมตน, ฯลฯ.อป+จายุธาตุ ยุ ปัจ.ส. อปจายน.
  48. อปจิติ : (อิต.) การยำเกรง, ฯลฯ, ความยำเกรง, ฯลฯ.อปปุพฺโพ, จายุปูชายํ, ติ.แปลงอาเป็นอิ ลบที่สุดธาตุ.ส. อปจิติ.
  49. อปุตฺตกเสฏฐิวตฺถุ : (นปุ.) เรื่องของเศรษฐีผู้ไม่มีบุตรมีวิ.ตามลำดับดังนี้-นปุพ.พหุพ.นตฺถิตสฺสปุตฺตาติอปุตฺตโกกสกัด.วิเสสนบุพ.กัม.อปุตฺตโก จ โสเสฏฺฐีจาติอปุตฺตกเสฏฺฐี.
  50. อรหนฺต : (ปุ.) พระอรหันต์.วิ.สํสารจกฺกสฺสอเรหตวาติอรหาอรหํวา(ผู้ขจัดเสียซึ่งซี่แห่งสังสารจักร).อคฺคทกฺขิเณยฺยภาเวณปูชนํอรหตีติอรหา(ผู้ควรซึ่งการบูชาเพราะความเป็นพระทักขิเณยยบุคคลผู้เลิศ).กิเลสารโยมคฺเคนหนีติ อรหา (ผู้กำจัดข้าศึกคือกิเลสท.ด้วยมรรค).นสนฺติเอตสฺสรหาติอรหา (ผู้ไม่มีปาบธรรม).นตฺถิ เอตสฺสรโหคมนํคตีสุปจฺจาชาตีติอรหํ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-362

(0.0497 sec)