Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เจ้าระเบียบ, ระเบียบ, เจ้า , then จา, จารบยบ, เจ้, เจ้า, เจ้าระเบียบ, ระเบียบ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เจ้าระเบียบ, 362 found, display 51-100
  1. ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนสุตฺต : (นปุ.) ธรรมจัก- กัปปวัตตนสูตร ชื่อพระสูตรซึ่งพระพุทธ- เจ้าทรงแสดงครั้งแรกแก่พระเบญจวรรคีย์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ปฐมเทศนา.
  2. ธมฺมนุญฺญ : (ปุ.) ธรรมนูญ พระธรรมนูญ ชื่อว่ากฎหมายว่าด้วยระเบียบการ เช่นพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ชื่อกฎหมายสูงสุดของประเทศที่ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย. ธมฺม+มนุญฺญ ลบ อักษร ที่เสมอกันเสียตัวหนึ่ง.
  3. ธมฺมสามิ ธมฺมสฺสามิ : (ปุ.) พระธรรมสามี เป็นพระนามของพระพทธเจ้าทั้งปวง วิ. ธมฺมสฺส สามิ ธมฺมสามิ. ธมฺมสฺส วา ปวตฺตกตฺตา ธมฺมสามิ ธมฺมสฺสสามิ วา.
  4. ธย ธาย : (ปุ.) เจ้าหนี้. ธา ธารเณ, อ. แปลง อา เป็น อิ แปลง อิ เป็น ย ศัพทฺหลังแปลง อา เป็น อาย.
  5. นกฺขตฺตราชา : ป. เจ้าแห่งนักษัตร, พระจันทร์
  6. นครคุตฺติก : ป. เจ้าเมือง, ผู้ครองเมือง, นายกเทศมนตรี
  7. นวผลิกานววธู : (อิต.) เจ้าสาว. ส. นวผลิกา, นววธู.
  8. นวโลห : (ปุ. นปุ.) โลหะเก้า,โลหะเก้าอย่าง,โลหะเก้าชนิด.โลหะเก้าประการ,โลหะเก้าคือเหล็ก,ปรอท,ทองแดง,เงิน,ทองคำ,เจ้าน้ำเงิน(แร่ชนิดหนึ่งสีเขียวเป็นสีน้ำเงิน),สังกะสี,ซิน,บริสุทธิ์(คือทองแดงบริสุทธิ์).ห้าอย่างข้างต้นเรียกปัญจโลหะตั้งแต่เหล็กถึงสังกะสีเรียกสัตตโลหะ.
  9. นฺหาตก : (วิ.) อาบแล้ว, อันพระอริยเจ้าอาบ แล้ว (หมดกิเลส).
  10. นาย นายก : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็น หัวหน้า, เป็นประธาน, ผู้นำ, ผู้นำไป. วิ. เนตีติ นายโก. นิ นี วา นเย, ณฺวุ. ศัพท์ต้น ณ ปัจ.
  11. นิกฺขิก : (ปุ.) พนักงานคลังเงินทอง, เจ้าหน้าที่ การเงิน, เหรัญญิก. วิ. นิกฺเข นิโยโค นิกฺขิโก.
  12. นิโคฺรธาราม : (ปุ.) นิโครธาราม ชื่อวัดอยู่ใน เมืองกบิลพัสดุ์ ซึ่งเจ้าศากยะสร้างถวาย.
  13. ปจฺเจกพุทฺธ : ป. ท่านผู้ตรัสรู้เฉพาะตัวมิได้สอนผู้อื่น, พระปัจเจกพุทธเจ้า
  14. ปชฺชุนฺน : ป. เมฆฝน, เจ้าแห่งฝน
  15. ปชาปติ : ป. เจ้าแห่งหมู่สัตว์, พระพรหม
  16. ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ; ๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ; ๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
  17. ปเทสรชฺช : นป. ความเป็นพระราชาในประเทศ, ความเป็นใหญ่ในถิ่น, ความเป็นเจ้าประเทศราช
  18. ปนฺถเทวตา : อิต. เทวดาที่สิงอยู่ตามถนนหนทาง, เทวดาเจ้าทาง
  19. ปนฺถสกุณ : ป. ชื่อพิธีบูชายัญอย่างหนึ่งที่เขาทำการเซ่นสรวงแก่เทวดาเจ้าทาง (สันนิษฐานว่าของเซ่นได้แก่มนุษย์ที่เขาฆ่าแล้วนำมาย่างอย่างนก)
  20. ปภู : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นประธาน. ปปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, อู, กฺวิ วา. ฎีกาอภิฯ ลง อุ ปัจ. เป็น ปภุ.
  21. ปริยาย : ป. ระเบียบ, อันดับ, เหตุ, หนทาง, คุณภาพ, วิธีการพูดอ้อมค้อม, ไวพจน์, บรรยาย
  22. ปสุปติ : ป. ปุศุบดี; เจ้าแห่งสัตว์เลี้ยง; พระอิศวร
  23. ปุถุติตฺถกร : ป. เจ้าลัทธิคนธรรมดา
  24. ปุรินฺท : (ปุ.) คนเป็นใหญ่ของเมือง, เจ้าเมือง. ปุร+ อินฺทฺ.
  25. เผณมาลา : อิต. มาลา - , แถว- , แนว-, ระเบียบแห่งฟองน้ำ
  26. พฺรหาหฺมณ : (ปุ.) พราหมณ์ มีความหมายดังนี้.- ๑. เป็นชื่อของชนวรรณะหนึ่ง วิ. พฺรหฺมํ อณตีติ พฺราหฺมโณ. มนฺเต สชฺชายตีติ อตฺโถ, พฺรหฺมปุพฺโพ, อณฺ สทฺเท, โณ. พฺรหฺมุโน อปจฺจํ พฺราหฺมโณ. ณ ปัจ. โคตตตัท. นฺ อาคม แปลง นฺ เป็น ณฺ. เขาถือว่า พวกเขาเกิดจาก อุระ หรือปากของพระพรหม.และ ๒. เป็นชื่อของพระอริยเจ้า พระอรหันต์ พาหิตปาปตฺตา พฺราหฺมโณ ชื่อ พระอรหันต์ เพราะความเป็นผู้มีบาปอันลอยแล้ว (ละบาปได้แล้ว).
  27. พุทฺธทตฺต : (วิ.) อันพระพุทธ เจ้าทรงประทานแล้ว วิ. พุทฺเธน ทินฺโน พุทฺธทตฺโต. แปลงทินฺน เป็น ทตฺต.
  28. พุทฺธภาสิต : (วิ.) อันพระพุทธ เจ้าตรัสแล้ว.
  29. พุทฺธมามก : (นปุ.) ผู้ถือพระ พุทธเจ้าว่าเป็นของของเรา, ผู้ถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นของเรา, ผู้ถือพระพุทธ ศาสนาว่าเป็นของเรา, ผู้ที่ประกาศตนว่าเคารพนับถือพระพุทธศาสนา.
  30. พุทฺธวส : (ปุ.) วงศ์ของพระ พุทธเจ้า , พุทธวงศ์. ไตร. ๓๓ ข้อ ๒ กล่าวถึงวงศ์ของพระพุทธเจ้าไว้ ๒๕ วงศ์ ๑. พระทีปังกร, ฯลฯ ๒๕ พระโคตมะ.
  31. พุทฺธสาสน : (นปุ.) ศาสนาแห่งท่านผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน, ศาสนาของพระ พุทธเจ้า, ศาสนาพุทธ, พุทธศาสนา, พุทธสาสนา, โดยมากใช้รูปสันสกฤต คือ พุทธศาสนา.
  32. โพธิ : (ปุ.) โพธิ์ ไม้โพธิ์ ต้นโพธิ์ ชื่อต้นไม้ ซึ่งเจ้าชายสิทธัตถะเมื่อทรงผนวชเป็นพระมหาบุรุษแสวงหาโมกขธรรมได้เสด็จประทับบำเพ็ญเพียรแล้วได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า. วิ. สพฺพญฺญุตญฺ ญาณํ พุชฺฌติ เอตฺถาติ โพธิ. พุธฺ อวคมเน, อิ.
  33. ภควนฺตุ : (ปุ.) พระผู้มีพระภาคเจ้า. ศัพท์นี้ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าเท่านั้น และใช้เป็น ๓ วจนะ คือ เอกวจนะ ท๎วิวจนะ และ พหุวจนะ ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวงด้วย ที่เป็น อาลปนะ แปลว่า พระพุทธเจ้าข้า ได้. พระนามนี้มีอรรถมากตามธาตุ. ภชฺ เสวายํ ภาชเน จ ทาเน จ. ภญฺชฺ อวมทฺทเน, วนฺตุ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ถ้าตั้ง ภญฺชฺ ธาตุ พึงลบ ญฺ สังโยค. ไตร. ๒๙, ๓๐.
  34. ภทนฺต, ภทฺทนฺต : ค. ท่านผู้เจริญ, พระผู้เป็นเจ้า, พระคุณเจ้า (ใช้สำหรับพระสงฆ์)
  35. ภวนฺตุ : (ปุ.) ปูชารหบุคคล, พระผู้มีพระภาคเจ้า, พระพุทธเจ้า (ชิน).
  36. มหาปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้ใหญ่, บุรุษผู้ประเสริฐ, มหาบุรุษ คือท่านผู้ทำประโยชน์ ให้แก่ประเทศชาติหรือโลก (ชาวโลก) มาก หรือท่านผู้สร้างสมบารมีไว้มาก เรียกเจ้าชายสิทธัตถะ เมื่อเสด็จออกผนวชแสวงหาโมกขธรรมว่า พระมหาบุรุษ.
  37. มายาการ : (ปุ.) คนผู้ทำมารยา, คนเจ้ามารยา, คนเจ้าเล่ห์, คนเล่นกล, คนผู้แสดงการขบขัน, คนเล่นตลก, คนตลก, จำอวด.
  38. มาริส : (ปุ.) เจ้า, ท่าน, ท่านผู้เช่นเรา, ท่านผู้หาทุกข์มิได้, ท่านผู้นิรทุกข์, ท่านผู้เว้นจากทุกข์ (นิทฺทุกฺข ทุกฺขรหิต) . ศัพท์นี้มีอยู่ในกลุ่มคำ มาทิกฺข แล้ว ที่แยกไว้อีกนี้ เพราะคำนี้มักใช้เป็น อาลปนะ.
  39. มาลา : (อิต.) ระเบียบ, แถว, แนว, ถ่องแถว, โครง, แผน, หมวด, สาขา, สร้อยคอ, สาย, ดอกไม้, พวง, พวงดอกไม้. วิ. มียติ ปริมียตีติ มาลา. มา มาเน, โล, อิตฺถิยํ อา. มลฺ ธารเณ วา, อ. มา ภมรา ลสนฺติ เอตฺถ ปิวเนนาติ วา มาลา, มาปุพฺโพ, ลสฺ กนฺติยํ, กฺวฺ ลบที่สุดธาตุ.
  40. มาลี : (วิ.) มีระเบียบ, ฯลฯ. อี ปัจ.
  41. มุนินฺท : (นปุ.) นักปราชญ์ผู้เป็นเจ้า (พระพุทธเจ้า), พระมุนินท์ พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง พระนาม ๑ ใน ๓๒ พระนาม.
  42. มุนิราช : (วิ.) ผู้เป็นเจ้าแห่งมุนี.
  43. ยุทฺธวินย : (ปุ.) ระเบียบแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ, ข้อบังคับแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ, กฏแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ.
  44. ราชกุมาร : ป. ราชกุมาร, เจ้าชาย, โอรสของพระราชา
  45. ราชกุมารี, -กญฺญา : อิต. เจ้าหญิง, พระราชธิดา
  46. ราชปุตฺต : ป. ราชบุตร, เจ้าชาย
  47. ราหุ : ป. ราหู; เจ้าแห่งหมู่อสูร
  48. ลิจฺฉวิ : ป. เจ้าลิจฉวี
  49. วนปฺปติ : ป. เจ้าป่า
  50. วมฺปติ : (ปุ.) เจ้าแห่งโค, เจ้าของแห่งโค.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-362

(0.0587 sec)