Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความยืดหยุ่น, ยืดหยุ่น, ความ , then ความ, ความยดหยน, ความยืดหยุ่น, ยดหยน, ยืดหยุ่น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความยืดหยุ่น, 3691 found, display 2951-3000
  1. อปายสมุทฺท : ป. มหาสมุทรแห่งความทุกข์
  2. อปายสหาย : (ปุ.) เพื่อนชักชวนในความฉิบหาย, เพื่อนชักชวนในทางแห่งความฉิบหาย.
  3. อปิย : (นปุ.) ความไม่รัก, ความชัง.
  4. อปิลาปนตา : (อิต.) ความไม่เลื่อนลอย.
  5. อปิสุณาวาจ : (วิ.) มิใช่ผู้มีวาจาอันบดเสียซึ่งความรัก, ผู้มีวาจามิใช่วาจาอันบดเสียซึ่งความรัก.
  6. อปิสุณาวาจา : (อิต.) วาจามิใช่วาจาอักบดเสียซึ่งความรัก, วาจาไม่ส่อเสียด.
  7. อปุจฺจณฺฑตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่มีสภาพเหมือนไข่เน่า คือมีสุขภาพปกติ
  8. อเปกฺขน : นป. อเปกฺขา, อิต. ความหวัง, ความปรารถนา, ความมุ่งหมาย
  9. อเปขาอเปกฺขา : (อิต.) การมองหา, ความเพ่ง, ความเพ่งเอา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ.
  10. อเปขา อเปกฺขา : (อิต.) การมองหา, ความเพ่ง, ความเพ่งเอา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ.
  11. อเปตตฺต : นป. ความเป็นผู้ปราศ, ความเป็นผู้ไม่อยู่
  12. อเปตฺเตยฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่เคารพยำเกรงบิดา, ความเป็นผู้ไม่เกื้อกูลแก่บิดา
  13. อโปห : (ปุ.) การสละ, การละทิ้ง.อปปุพฺโพ, อูหฺวิตกฺเก, โณ.ส.อโปหการสิ้นความสงสัย.
  14. อผาสุก : (นปุ.) ทุกข์มิใช่ความสำราญ, ความทุกข์มิใช่ความสำราญ, ความไม่สำราญ.
  15. อพฺพตน : ป., ค. ความเป็นผู้ไม่มีวัตร, การทำลายกฎศีลธรรม, ผิดศีล
  16. อพฺภตฺถ : นป. อพฺภตฺถตา, อิต. ความฉิบหาย, ความตั้งอยู่ไม่ได้
  17. อพฺภนุโมทนา : อิต. การอนุโมทนายิ่ง, ความยินดียิ่งเมื่อได้บำเพ็ญกุศุลแล้ว
  18. อพฺภาจิกฺขน : (นปุ.) การกล่าวตู่, ฯลฯ, คำกล่าวตู่, ฯลฯ.อภิอาบทหน้าจิกฺขฺธาตุในความกล่าวยุปัจ.
  19. อพฺภาน : (นปุ.) การเรียกเข้า, การชักกลับมา, การรับรอง, ความรับรอง, อัพภาน.การสวดเมื่อภิกษุต้องอาบัติสังฆาทิเสสซึ่งได้ประพฤติมานัสครบ๖ราตรีหรือประพฤติมานัสและอยู่ปริวาสแล้วเพื่อให้กลับเป็นผู้บริสุทธิ์เรียกว่าสวดอัพภาน.
  20. อพฺภุ : ป. ความไม่มีประโยชน์, เกียจคร้าน
  21. อพฺภุต : ๑. นป. ความแปลกใจ, ความอัศจรรย์; ของพนัน ; ๒. ค. น่าแปลกใจ, น่าอัศจรรย์
  22. อพฺภูต : ป. ๑. ความอัศจรรย์ ; ๒. ของตั้งพนัน, เงินเดิมพัน
  23. อพฺเภติ : ก. อัพภาน, เรียกกลับมา, เรียกภิกษุผู้ต้องอาบัติอยู่ปริวาสแล้วให้กลับเข้ามาเป็นผู้มีความบริสุทธิ์
  24. อพฺยยีภาว : (ปุ.) ความเป็นของคงที่, ฯลฯ, อัพยยีภาวะชื่อของสมาสอย่างหนึ่ง.
  25. อพฺยสน : (วิ.) มิได้ทำกรรมอันเป็นแดนแห่งความฉิบหาย.
  26. อพฺยาปนฺน : ค. อันไม่มีความสำราญ
  27. อพฺยาปาท : (นปุ.) ความไม่ปองร้าย, ความไม่พยาบาท.
  28. อพฺยาปาทวิตกฺก : (ปุ.) ความคิดในทางไม่ปองร้าย.
  29. อภพฺพตา : อิต. ความไม่สมควร, ความเป็นไปไม่ได้
  30. อภยทาน : (นปุ.) การให้ความไม่มีแห่งภัย, อภัยทาน.
  31. อภยูปรต : (ปุ.) พระขีณาสพผู้อันความกลัวไม่เข้าไปย้อมแล้ว, พระขีณาสพผู้อันความกลัวไม่ย้อมแล้ว, พระขีณาสพผู้มีความกลัวอันสิ้นแล้ว.ดูภยูดปรตด้วย.
  32. อภว : (ปุ.) ความไม่มี, ความไม่เป็น, ความเสื่อมความฉิบหาย, ความพินาศ.ส. อภว.
  33. อภาว : (นปุ.) ความไม่มี, ฯลฯ.
  34. อภาสน : (นปุ.) การไม่พูด, ความนิ่ง.
  35. อภิกงฺขน : นป. ความปรารถนา, ความจำนง, ความหวัง
  36. อภิกงฺขา : (อิต.) ความอยากจัด, ความกำหนัด, ความยินดี, ความรักใคร่.อภิปุพฺโพ, กขิอิจฺฉายํ, อ.
  37. อภิคิชฺฌน : นป. ๑. ความปรารถนา ; ๒. ความกำหนัด ; ๓. ความริษยา
  38. อภิชฺฌา : (อิต.) อภิชฌาชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ, ความอยากได้, ความทะเยอทะยาน, ความกระวนกระวาย, ความปรารถนาอย่างแรงกล้า, ความเพ่งเฉพาะ, ความปรารถนา.วิ.ปรสมฺปตฺตีอภมุขํกตฺวาฌายตีติอภิชฺฌา.ส. อภิขฺยา.
  39. อภิชฺฌาวิสมโลภ : (ปุ.) ความโลภมีส่วนเสมอไปปราศแล้วด้วยความเพ่งเล็ง, ความโลภมีส่วนเสมอไปปราศแล้วด้วยสามารถแห่งความเพ่งเล็งหมายความว่า อยากได้ไม่เลือกทางอาจปล้น ฆ่า ชิงทรัพย์ ฯลฯขอให้ได้เป็นเอาทั้งนั้น.
  40. อภิชปฺปน : นป. ๑. ความอยาก, ความปรารถนา; ๒. การกล่าว
  41. อภิชปฺปา : (อิต.) ความที่จิตปรารถนา, ความปรารถนายิ่ง.อภิปุพฺโพ, ชปฺมานเส, อ, ทฺวิตฺตํ.
  42. อภิชาตอภิชาตปุตฺต : (ปุ.) คนมีตระกูล, บุตรชั้นสูง, อภิชาตบุตร (ลูกผู้เกิดมามีความรู้ความสามารถและความประพฤติดีสูงกว่าตระกูล).
  43. อภิชาต อภิชาตปุตฺต : (ปุ.) คนมีตระกูล, บุตร ชั้นสูง, อภิชาตบุตร (ลูกผู้เกิดมามีความรู้ ความสามารถและความประพฤติดีสูงกว่า ตระกูล).
  44. อภิชาติตา : อิต. ความเป็นผู้เกิด, การถือปฏิสนธิ; จำความ
  45. อภิชาน, อภิชานน : นป. ความจำได้, การรู้ยิ่ง
  46. อภิชีหนา : อิต. ความอุตส่าห์, ความพยายาม
  47. อภิญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีความรู้ยิ่ง, ผู้เชี่ยวชาญ
  48. อภิญฺญา : (อิต.) ความรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง, ความตรัสรู้ด้วยปัญญาอันยิ่ง, ปัญญาอันบุรุษพึงรู้ยิ่ง, ปัญญาเครื่องรู้ยิ่ง, ความรู้ยิ่ง, ความฉลาด, ปัญญา, กฏหมาย.
  49. อภิญฺญาณ : (นปุ.) ความรู้ยิ่ง, ความรู้อย่างสูง, เครื่องหมาย, รอย.
  50. อภิฐาน : (นปุ.) ฐานยิ่ง, ฐานะอย่างหนัก, อภิฐานะชื่อของความผิดสถานหนักมี๖อย่างคืออนันตริยกรรม๕ การปฏิญญาณรับถือศาสนาอื่นในขณะที่ครองเพศบรรพ-ชิตเป็นข้อที่ ๖.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | [2951-3000] | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3691

(0.1361 sec)