Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความหนืด, หนืด, ความ , then ความ, ความหนืด, หนด, หนืด .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความหนืด, 3691 found, display 2251-2300
  1. สจฺฉนฺท : ป. ความพอใจของตน
  2. สจิตฺตก : ค. มีเจตนา, มีความตั้งใจ
  3. สเจตน : ค. มีความตั้งใจ
  4. สชฺฌน : (นปุ.) ความสะอาด, ความหมดจด, ความบริสุทธิ์, ความผุดผ่อง. สุธฺ โสเจยฺเย, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  5. สญฺเจตนิก : ค. มีความตั้งใจ
  6. สญฺชาติ : อิต. ความเกิด
  7. สญฺชานน : นป. การรู้จัก, ความรู้สึก
  8. สญฺชีวน : นป. ความเป็นอยู่, การฟื้นฟู, คืนชีพ
  9. สญฺญา : อิต. ความจำได้, ความหมายรู้
  10. สญฺญี : ๑. อิต. ความรู้สึก, ๒. ค. มีความรู้สึก
  11. สณฺฐิติ : อิต. ความตั้งมั่น, ความมั่นคง
  12. สติ : อิต. ความระลึกได้
  13. สทฺทตฺถ : ป. ความหมายของคำ
  14. สทฺธ : ค. มีศรัทธา, มีความเชื่อ
  15. สทฺธา : อิต. ความเชื่อ
  16. สทฺธาเทยฺย : ค. อันเขาให้ด้วยความเชื่อถือ
  17. สทฺธาลุ : ค. มีความเชื่อ
  18. สทร : ค. ก่อความยุ่งยาก, รำคาญใจ
  19. สทสฺสน : (นปุ.) การเห็นได้โดยง่าย, ความเห็นได้โดยง่าย. สุข+ทสฺสน, การเห็นได้ด้วยดี, ความเห็นได้ด้วยดี. สุฏฺฐุ+ทสฺสน.
  20. สนฺตติ : อิต. ความสืบต่อ, ความสืบเนื่อง, ความสืบตระกูล
  21. สนฺตาป : ป. ความร้อน, ความเผา; ความทรมาน
  22. สนฺตาส : ป. ความสะดุ้ง, ความหวาดกลัว
  23. สนฺติ : ๑. อิต. ความสงบ; ๒. ก. มีอยู่
  24. สนฺตุฏฺฐิ : อิต. ความยินดีในของของตน
  25. สนฺโตส : ป. สันโดษ, ความยินดีตามฐานะ
  26. สนฺถว : (ปุ.) ความคุ้นเคย, ความสนิท, ความสนิทสนม, การรู้จัก, การรู้จักกัน, การชม, การชมเชย, การเชยชม, ความชม, ฯลฯ, ตัณหา. สํปพฺโพ, ถุ อภิตฺถเว, โณ, ยุ.
  27. สนฺถวตฺติ : (อิต.) ความรักด้วยสามารถแห่งความคุ้นเคย, ฯลฯ, สันถวไมตรี.
  28. สนฺถวน : (นปุ.) ความคุ้นเคย, ความสนิท, ความสนิทสนม, การรู้จัก, การรู้จักกัน, การชม, การชมเชย, การเชยชม, ความชม, ฯลฯ, ตัณหา. สํปพฺโพ, ถุ อภิตฺถเว, โณ, ยุ.
  29. สนฺทิฏฐปรามาสี : (วิ.) ผู้มีความถือมั่นในความเห็นของตน, ผู้มีความยึดมั่นในความเห็นของตน, ผู้ถือมั่นในความเห็นของตน, ผู้ยึดมั่นในความเห็นของตน, ผู้ถือมั่นแต่ความเห็นของตน, ผู้ยึดถือแต่ความเห็นของตน, ผู้ดื้อรั้น.
  30. สนฺเทห : (ปุ.) ความฉงน, ความไม่แน่ใจ, ความสงสัย, สนเท่ห์, สํปุพฺโพ, ทิหฺ อุปจเย, โณ. ส. สนฺเทห.
  31. สนฺนิกฏฐ : (ปุ.) ความใกล้.
  32. สนฺนิฏฐาน : (นปุ.) การตกลง, การตกลงใจ, ความตกลง, ความตกลงใจ, ความสันนิษฐาน (ลงความเห็นเป็นการคาดคะเนไว้ก่อน). สํ นิ ปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, ยุ.
  33. สนฺนิฏฺฐาน : นป. การลงความเห็น, การคาดคะเน, การสันนิษฐาน
  34. สนฺนิธาน : (นปุ.) การนับเนื่อง, การใกล้เคียง, การสะสม, การสั่งสม, ความนับเนื่อง, ฯลฯ. สํ นิ ปุพฺโพ, ธา ธารเณ, ยุ. ส. สนฺนิธาน.
  35. สนฺนิธิ : (ปุ.) การรวบรวม, การใก้ลเคียง, การปรากฏเฉพาะหน้า, การสะสม, การสั่งสม, การนับเนื่อง, ความรวบรวม, ฯลฯ. อิ ปัจ. ที่ใกล้ ความประจักษ์ ก็แปล. ส. สนฺนิธิ.
  36. สนฺนิวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วม, การอยู่ร่วมกัน, การอยู่ด้วยกัน,การอยู่อาศัย, การอยู่อาศัยร่วมกัน, ความอยู่ร่วม,ฯลฯ.สํ นิ ปุพฺโพ,วสฺ นิวาเส, โณ.
  37. สปฺปีติก : ค. ประกอบด้วยความอิ่มใจ
  38. สพฺพกามทท : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งความใคร่ทั้งปวง, ผู้ให้ซึ่งสิ่งที่ใคร่ทั้งปวง. วิ. สพฺพกามํ ทโท สพฺพกามทโท.
  39. สพฺพญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมหาส่วนเหลือมิได้, สรรเพชุดา (ออกเสียงว่าสันเพ็ดชุดา). วิ. สพฺพ ฺญฺญุตา. สพฺพ ฺญฺญู+ตาปัจ. รัสสะ อู เป็น อุ. รูปฯ ๓๗๑.
  40. สพฺพฺญฺญุตญาณ สพฺพญฺญุตฺตญาณ : (นปุ.) ความรู้แห่งความเป็นแห่งสัตบุรุษผู้รู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ความรู้แห่งความเป็นแห่งพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้, ญาณแห่งความเป็นพระพุทธะผู้ทรงรู้ซึ่งสังขตธรรมและอสังขตธรรมทั้งปวงหาส่วนเหลือมิได้. ว. สพฺพฺญฺญุตาย สพฺพฺญฺญุตฺตสฺส วา ญาณํ สพฺพฺญฺญุตญาณํ สพฺพ ฺญฺญุตต-ฺญฺาณํ วา. ศัพท์ต้น รัสสะ อา ที่ ตา เป็น อ. ญาณคือความเป็นแห่งพระสัพพัญญู วิ.สพฺพ ฺญฺญุตา เอว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺญุต ฺญฺาณํ. อถวา, สพฺพ ฺญฺญุตฺตํ เยว ฺญฺาณํ สพฺพ ฺญฺ-ญุตฺต ฺญฺาณํ.
  41. สพฺภ : (นปุ.) ความดีในสภา, ความสำเร็จในสภา. วิ. สภายํ สาธุ สพฺภํ ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. แปลง ภฺย เป็น พฺภ รูปฯ ๓๖๓.
  42. สภาควุตฺตี : ค. ความประพฤติเสมอกัน
  43. สภาชน : (นปุ.) การแนะนำ, ความพอใจ, ความสุภาพ, ความมีอัธยาศัย, ความเคารพ, ความสมควร, ความถูกต้อง, ความสมเหตุผล. สภาชฺ ปิติทสฺสเนสฺ ปีติวจเนสุ วา, ยุ.
  44. สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
  45. สภาวธมฺม : (ปุ.) ความเป็นเอง, สิ่งที่เกิดเอง, สิ่งที่เป็นเอง, หลักแห่งความเป็นเอง, สภาวธัมม์ สภาพธรรม ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒.
  46. สมก : (ปุ.) ธรรมอันยังจิตให้สงบระงับจากอุปกิเลส, ธรรมเป็นเครื่องสงบระงับของจิต, ความสงบระงับของจิต.
  47. สมคฺคี : (ปุ.) ความพร้อมเพรียง, ฯลฯ. อิปัจ.
  48. สมคฺต : (ปุ.) ความพร้อมเพรียง, ฯลฯ, บุคคล ผู้พร้อมเพรียงกัน, ฯลฯ. สม+อา+คมฺ คติยํ, อ. ลบที่สุดธาตุ รัสสะ ซ้อน ค.
  49. สมงฺค : (ปุ.) ความพร้อมเพรียง, ฯลฯ, บุคคลผู้พร้อมเพรียง, ฯลฯ.
  50. สมงฺคิตา : อิต. ความเป็นผู้พร้อมเพรียงกัน
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | [2251-2300] | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3691

(0.1263 sec)