Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความอ้างว้าง, อ้างว้าง, ความ , then ความ, ความอางวาง, ความอ้างว้าง, อ้างว้าง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความอ้างว้าง, 3691 found, display 3051-3100
  1. อภิสมย : (ปุ.) การถึงพร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้-พร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้, การตรัสรู้ซึ่งธรรมการบรรลุ, การบรรลุธรรม, การละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง, ความถึงพร้อมเฉพาะ, ฯลฯ, คราวอันยิ่ง, กาลอันยิ่ง.อภิสํปุพฺโพ, อยฺ อิวา คมเน, อ. ตรัสรู้ได้ด้วยอะไร?ตรัสรู้ได้ด้วยจิตที่เป็นปัจจุบันและด้วยญาณในขณะโลกุตตรมรรค.ไตร.๓๑/๖๐๒.
  2. อภิสมาจาร : (ปุ.) ความประพฤติชอบยิ่ง, ความประพฤติอันดี, มารยาทอันดี, อภิสมาจารคือ ธรรมเนียมของภิกษุ ขนบธรรมเนียมของภิกษุมารยาทอันดีงามของภิกษุเป็นสิกขาบทที่มานอกพระปาติโมกข์ ปรับอาบัติ๒อย่างคือถุลลัจจัยมีห่าง ๆ และ ทุกกฏเป็นพื้น.
  3. อภิสิทฺธิ : (อิต.) ความเจริญยิ่ง, ความสำเร็จยิ่ง, ความสำเร็จ, ไทยใช้อภิสิทธิ์.ในความหมายว่าทำอะไรได้เหนือคนอื่นเหนือกฏ-หมายถ้ามีคนใช้อภิสิทธิ์ในความหมายนี้สังคมก็วุ่นวาย ประเทศชาติก็วุ่นวาย.
  4. อภิหาร : (ปุ.) การนำไปยิ่ง, การเคราพ, การบูชาการเคราพบูชา.ความเคราพ, ฯลฯ, ความนับถือ.อภิปุพฺโพ, หรฺ อปนยเน, โณ.
  5. อภุ : (นปุ.?)ความไม่เจริญ, ความเสื่อม.นปุพฺโพ, ภู วฑฺฒเน, อ. รัสสะอูเป็นอุ.
  6. อภูต : ๑. นป. ความเป็นของไม่จริง, ความโกหกหลอกลวง; ๒. ค. ไม่เป็น, ไม่มี, ไม่จริง
  7. อมจฺจุเธยฺย : นป., ค. ไม่ใช่บ่วงของมาร, ไม่ใช่เขตของความตาย
  8. อมจฺฉรอมจฺฉรี : (วิ.) ผู้ไม่มีความตระหนี่, ผู้ไม่ตระหนี่.
  9. อมจฺฉร อมจฺฉรี : (วิ.) ผู้ไม่มีความตระหนี่, ผู้ไม่ตระหนี่.
  10. อมต : (วิ.) ไม่มีความตาย, ไม่ตาย.น+มรฺ+ตปัจ.ไม่รู้แล้ว, ไม่รู้.น+มนุ+ตปัจ.ลบที่สุดธาตุ.อมต(ไตรลิงค์)มะขามป้อม.
  11. อมตฺตญฺญุตา : อิต. ความไม่รู้จักประมาณ
  12. อมตฺเตยฺยตา, อเมตฺเตยฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่เกื้อกูล หรือเคารพนับถือมารดา
  13. อมตปท : (ปุ. นปุ.) ทางแห่งความไม่ตาย, ทางแห่งอมตะ, ทางแห่งพระนิพพาน.
  14. อมทฺทว : นป. ความไม่อ่อน, ความกระด้าง
  15. อมฺพา : (อิต.) แม่เป็นคำเรียกหญิงด้วยความยกย่อง.แม่เรียกหญิงผู้ให้บุตรเกิด.วิ.ปุตฺเตนอมียตีติอมฺพา.อมฺคมเน, โพ.อม ปูชายํวา.อถวา, อพิสทฺเทสาทเน วาอ, นิคฺคหิตาคโม.ส.อมฺพา.
  16. อมรตฺต : นป. ความเป็นคืออันไม่ตาย, อมฤตภาพ
  17. อมหคฺคต : ค. (จิต) ไม่ถึงความเป็นใหญ่
  18. อมิลาตตา : อิต. ความไม่ร่วงโรย
  19. อเมชฺฌภริต : ค. เต็มไปด้วยมลทิน, เต็มไปด้วยความไม่สะอาด
  20. อโมสธมฺม : ป. ธรรมที่ไม่เลอะเลือน, ความไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา
  21. อโมห : (วิ.) ไม่มีความหลง, ไม่โง่เขลา, มีปรีชา
  22. อยน : (นปุ.) การไป, การถึง, ความเป็นไป, ทาง, หนทาง, ถนน.อยฺคติยํ, ยุ.ส. อยน.
  23. อยส : ป., นป. ความเสื่อมยศ, ความไม่มีเกียรติ
  24. อยุตฺต : ๑. นป. ความไม่ยุติธรรม, ความไม่สมควร, ความไม่ประกอบ ๒. ค. ไม่ยุติธรรม, ไม่สมควร, ไม่ประกอบ
  25. อโยค : ค. ไม่ประกอบความเพียร, ไม่มีความพยายาม, ไม่ตามประกอบ
  26. อโยนิโสมนสิการ : (ปุ.) การทำไว้ในใจโดยไม่แยบคาย, ความทำไว้ในใจโดยไม่แยบคาย, ฯลฯ.
  27. อรญฺญกตฺต : นป. ความเป็นผู้อยู่ในป่า, การถืออยู่ในป่าเป็นวัตร
  28. อรณ : (วิ.) ไม่มีข้าศึก, ไม่มีข้าศึกคือกิเลส.ไม่มีกิเลส, ไม่มีความชั่ว, ไม่มีความเสีย-หาย, ไม่มีบาป, ไม่มีการรบ, ไม่มีเสียง.ส. อรณ.
  29. อรตฺต : ค. ไม่ถูกความกำหนัดย้อมใจ
  30. อรติ : (อิต.) ความไม่ยินดี, ความไม่พอใจ, ความเบื่อ, ความริษยา, อรดี, อราดี.ส. อรติ.
  31. อรหตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งพระอรหันต์, คุณเครื่องเป็นพระอรหันต์, ความเป็นพระอร-หันต์, อรหัตผล.อรหนฺต+ตฺตปัจ.ภาวตัทลบนฺต.วิ.อรหโตภาโวอรหตฺตํ.
  32. อรหตฺตคหณ : นป. การถือเอาความเป็นพระอรหันต์, การบรรลุความเป็นอรหันต์
  33. อรหตฺตมคฺค : ป. อรหัตมรรค, ทางดำเนินไปสู่ความเป็นพระอรหันต์
  34. อรหนฺต : (ปุ.) พระอรหันต์.วิ.สํสารจกฺกสฺสอเรหตวาติอรหาอรหํวา(ผู้ขจัดเสียซึ่งซี่แห่งสังสารจักร).อคฺคทกฺขิเณยฺยภาเวณปูชนํอรหตีติอรหา(ผู้ควรซึ่งการบูชาเพราะความเป็นพระทักขิเณยยบุคคลผู้เลิศ).กิเลสารโยมคฺเคนหนีติ อรหา (ผู้กำจัดข้าศึกคือกิเลสท.ด้วยมรรค).นสนฺติเอตสฺสรหาติอรหา (ผู้ไม่มีปาบธรรม).นตฺถิ เอตสฺสรโหคมนํคตีสุปจฺจาชาตีติอรหํ.
  35. อริยกนฺต : ค. ยินดี, พอใจ, ซึ่งพอใจในความเป็นอริยะ, อันพระอริยะใคร่แล้ว
  36. อริยชน : (ปุ.) ชนผู้เจริญ, อารยชน (ชนผู้เจริญด้วยความรู้ความสามารถและขนบธรรม-เนียมอันดีงาม).
  37. อริยชาติ : (อิต.) ชาติผู้เจริญ, อารยชาติคือชาติที่พ้นจากความป่าเถื่อน.
  38. อริยทส : ค. ผู้มีความเห็นอันประเสริฐ
  39. อริยสจฺจ : (นปุ.) ความจริงอันประเสริฐ, ความจริงอย่างประเสริฐ, ความจริงอันยังปุถุชนให้เป็นพระอริยะ, ความจริงอันยังปุถุชนผู้ปฏิบัติตามมรรค ๘ ให้เป็นอริยะ, ความจริงของพระอริยะ, อริยสัจชื่อของหมวดธรรมหมวดหนึ่งซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสรู้ มี ๔ข้อคือ ๑.ทุกข์๒. ทุกขสมุทัย๓. ทุกขนิโรธและ ๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา.ไตร.๓๕/๑๔๔.
  40. อรูปตณฺหา : อิต. ความอยากเป็นผู้ไม่มีตัวตน, ความอยากเกิดในชั้นอรูปพรหม
  41. อรูปโลก : ป. อรูปโลก, โลกแห่งความไม่มีรูป, โลกแห่งความไม่มีตัวตน
  42. อรูปาวจร : ค. อรูปาวจร, อันเที่ยวไปในอรูป, อันนับเนื่องด้วยโลกแห่งความไม่มีรูป
  43. อโรคภาว : ป. ความไม่มีโรค, ความไม่เจ็บป่วย
  44. อโรคฺย : (นปุ.) ความไม่มีแห่งโรค, ฯลฯ. โรคสฺสอภาโวอโรคฺยํ.ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่มีโรค, ฯลฯ.วิ.อโรคสฺส ภาโวอโรคฺยํ.ณฺยปัจ.ภาวตัท.ดูอาโรคฺยด้วย.
  45. อล : (นปุ.) การประดับ, การตกแต่ง, ความประดับ, ความตกแต่ง, อลฺภูสเน, อ.
  46. อลกฺขี : (วิ.) หาความสวัสดีมิได้, มิใช่ความสวัสดี, ไม่มีสิริ, ไม่มีบุญ.
  47. อลกมฺม : (ปุ.) ความควรแก่การงาน, ความสามารถเพื่ออันทำ, ความสามารถเพื่อจะทำวิ.กมฺมสฺสอลํสมตฺโถติอลํกมฺโมเป็นอมาทิปรตัป.รูปฯ ๓๓๖.
  48. อลคฺคน : นป. ความไม่ติดข้อง
  49. อลชฺชี : (วิ.) ผู้ไม่มียางอาย, ผู้ไม่มีความอาย, ผู้ไม่มีความกระดาก, ผู้หน้าด้าน.
  50. อลปเตยฺยา : อิต. ผู้มีอายุพอจะแต่งงานได้, หญิงที่ถูกกล่าวว่า “พอละ” เป็นการแสดงความไม่พอใจของสามีไล่ให้เธอกลับไปหามารดาบิดา
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | [3051-3100] | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3691

(0.1285 sec)