Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความร่วน, ร่วน, ความ , then ความ, ความรวน, ความร่วน, รวน, ร่วน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความร่วน, 3694 found, display 2001-2050
  1. มุท : ป. ความยินดี
  2. มุทฺธตา : อิต. ความโง่เง่า
  3. มุทฺย : (ปุ.) ความยินดี.
  4. มุทา : (อิต.) ความร่าเริง, ความบันเทิง, ความยินดี. มุทฺ หาเส, อ, อิตฺถิยํ อา.
  5. มุทิตา : (อิต.) ความพลอยยินดีด้วย, ความยินดีกับเขา.
  6. มุทุชาติก : ค. มีความอ่อนโยน
  7. มุทุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนอ่อน, ความเป็นแห่งคนอ่อนโยน.
  8. มุฬฺห : (ปุ.) ความหลง, ความเขลา, ความโง่. มุหฺ เวจิตฺเต, โฬ. กลับอักษร เอา ฬ ไว้หน้า ห.
  9. มูควตฺต : (นปุ.) ความประพฤติใบ้, ความประพฤติเป็นคนใบ้, มูควัตร ชื่อวัตรของเดียรถีอย่างหนึ่ง คือ ประพฤติเป็นคนใบ้ไม่พูดจากัน.
  10. เมตฺตา : อิต. ความรัก, ความเอ็นดู
  11. เมตฺตาวิหารี : ค. ผู้อยู่ในความรักความเอ็นดู, มีเมตตา
  12. เมตฺติ : (อิต.) ความรัก, ฯลฯ, ความเป็นเพื่อนกัน, ความไมตรี, ไมตรี. มิทฺ สิเนเห, ติ. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ทฺ. มิตฺเต ภวา วา เมตฺติ. ณิ ปัจ.
  13. เมถุน : (นปุ.) ความประพฤติของคนคู่ คือ หญิงและชายผู้มีความพอใจเสมอกัน, อัชฌาจารของคนคู่กัน, ความยินดีของคนคู่กัน, การร่วมสังวาส. วิ. มิถุนานํ อิตฺถีปุริสานํ สมานฉนฺทานํ อาจาโร เมถุนํ. ณ ปัจ.
  14. เมถุนธมฺม : (ปุ. นปุ) เรื่องความประพฤติของหญิงและชายผู้มีความพอใจเสมอกัน, เรื่องของคนคู่กัน, ประเพณีของชาวบ้าน, เรื่องของชาวบ้าน, ธรรมของอสัตบุรุษ, เมถุนธรรม (เรื่องของคนเป็นคู่ๆ พึงประพฤติ). วิ. เมถุนํ เอว ธมฺโม เมถุนธมฺโม.
  15. เมธ : (ปุ.) ความกำจัด, ความกำจัดความชั่ว, คนมีปัญญา.
  16. เมธค : (ปุ.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
  17. เมธคา : (อิต.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
  18. เมธา : (อิต.) ความรู้, ความฉลาด, ความฉลาดรอบคอบ, ปัญญา, ปัญญาเครื่องกำจัดกิเลส, ปรีชา. วิ. วิเลเสเมธตีติเมธา (กำจัด กิเลส). เมธฺ หึสายํ, อ. เมธาติ สิริยาติ วา เมธา (ไปกันด้วยความดี). เมธฺ สงฺคเม. สุขุมมฺปิ อตฺถํ ธมฺมญฺจ ขิปฺป เมว เมตีติ เมธา (ถือเอาผลและเหตุอันสุขุมพลัน). เม อาทาเน, โธ.
  19. เมลก : (ปุ.) การกอดรัด, การเกี่ยวข้อง, การคุ้นเคย, การกอดรัก, ฯลฯ, ความรัก, ความเยื่อใย, หมู่, ประชุม. มิลฺ สิเนหเน, โณ, สตฺเถ โก.
  20. เมลน : (นปุ.) การกอดรัด, ฯลฯ, การรวมกัน, การร่วมกัน, ความกอดรัด, ฯลฯ, ยุ ปัจ.
  21. โมกฺขธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องพ้น, ธรรม คือความหลุดพ้น, โมกษธรรม.
  22. โมกฺขมคฺค : ป. ทางแห่งความหลุดพ้น
  23. โมจน : (นปุ.) การปลด, ฯลฯ, ความปลด, ฯลฯ, การแก้. มุจ+ยุ ปัจ. แปลง อุ เป็น โอ.
  24. โมจาปน : นป. เหตุแห่งความหลุดพ้น,ความหลุดพ้น
  25. โมชฺช โมทน : (นปุ.) ความบันเทิง, ความชื่นชม, ความยินดี, ความร่าเริง, ความปลื้มใจ. มุทฺ หาเส, โณ, โณฺย, ยุ.
  26. โมท : (ปุ.) ความบันเทิง, ความชื่นชม, ความยินดี, ความร่าเริง, ความปลื้มใจ. มุทฺ หาเส, โณ, โณฺย, ยุ.
  27. โมน : (นปุ.) ความนิ่ง, ความสงบ. วิ. มุนิโน กมฺมํ โมนํ. ณ ปัจ.
  28. โมนภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้, ฯลฯ. โมน+ภาว. ความเป็นแห่งมุนี, ความเป็นมุนี. มุนี+ภาว. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง อี เป็น อ.
  29. โมเนยฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งมุนี วิ. มุนิสฺส ภาโว โมเนยฺยํ. เณยฺย ปัจ. ภาวตัท.
  30. โมเนยฺยปฏิปทา : (อิต.) ข้อปฏิบัติอันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่ความเป็นมุนี.
  31. โมมูห : (ปุ.) ความหลงใหล, ความหลงมาก, ความหลงเลอะ, ความโง่เขลา, ความโง่เง่า. มุหฺ เวจิตฺเต, โณ. เท๎วภาวะ มุ แปลง อุ เป็น ทีฆะ อุ ที่ มุ ตัวธาตุ.
  32. โมสวชฺช : นป. ความไม่จริง, ความเท็จ
  33. โมหกฺขย : ป. สิ้นความหลง
  34. โมหตม : ป. ความมืดคือความหลง
  35. โมหนฺธ : (ปุ.) ความมืดด้วยความหลง, ความมืดมน.
  36. โมหาคติ : (อิต.) ความลำเอียงด้วยความเขลา, ความลำเอียงเพราะความเขลา, ฯลฯ, ความลำเอียงอันเกิดจากความเขลา, ฯลฯ.
  37. ยกฺขตฺต : นป. ภาวะของยักษ์, ความเป็นยักษ์
  38. ยญฺญตา : อิต. พิธีบูชายัญ, การบูชายัญ, ความเป็นคืออันบูชายัญ
  39. ยญฺญสมฺปทา : อิต. ความถึงพร้อมแห่งการบูชายัญ, ความสำเร็จแห่งการบูชายัญ
  40. ยตฺต ยตฺร : (นปุ.) ความเพียร. ยตฺ ปยตเน, ต, ตฺรณฺ ปัจ.
  41. ยตน : นป. ความพยายาม, ความขวนขวาย
  42. ยติ : (ปุ.) ความเพียร, ความขยัน, คนขยัน, ยตฺ ปยตเน, อิ.
  43. ยถตฺต : นป. ความเป็นจริง, ความเป็นอย่างนั้น
  44. ยถากาม : ก.วิ. ตามความประสงค์
  45. ยถากามการี : ป. ผู้รู้กระทำตามความประสงค์
  46. ยถานุภาว : ก. วิ. ตามกำลังแห่งตน, ตามความสามารถของตน
  47. ยถาปสาท : ก. วิ. ตามความเสื่อมใสแห่งตน
  48. ยถาผาสุก : (วิ.) มีความสำราญอย่างไร.
  49. ยถาภุจฺจ : (นปุ.) ตามความเป็นจริง.
  50. ยถาภุจฺจ, - ภูต : ค. จริง, แท้, ปรากฏ; ตามความเป็นจริง, สมควรเป็นจริง
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | [2001-2050] | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3694

(0.0857 sec)