Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: องค์ประกอบ, ประกอบ, องค์ , then ประกอบ, องค, องค์, องค์ประกอบ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : องค์ประกอบ, 370 found, display 101-150
  1. ชาตก : (นปุ.) ชาตกะ ชื่อองค์ที่ ๗ ของ นวัง – คสัตถุสาสน์ แสดงเรื่องที่เกิดแล้วในชาต ก่อนๆ ชาตปุพฺโพ, เก สทฺเท, อ.
  2. ฌานงฺค : นป. องค์แห่งฌาน
  3. ฌานสหคต : ค. อันสหรคตด้วยฌาน, อันประกอบด้วยฌาน
  4. ฌานานุยุตฺต : ค. ผู้ประกอบฌานอยู่เนืองๆ, ผู้บำเพ็ญฌาน
  5. ญาณวิปฺปยุตฺต : (วิ.) (จิต) ไม่ประกอบด้วย ปัญญา, ปราศจากปัญญา.
  6. ญาณสมฺปยุตฺต : (วิ.) ประกอบด้วยปัญญา.
  7. ญาณิก : ค. ผู้มีญาณ, ผู้ประกอบด้วยญาณ
  8. ญาณูปปนฺน : ค. ผู้เข้าถึงญาณ, ผู้บรรลุญาณ, ผู้ประกอบด้วยความรู้
  9. ตทงฺค : ๑. นป. องค์นั้น, ส่วนนั้น; ๒. ค. ชั่วเวลา, ชั่วคราว, ชั่วขณะ
  10. ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
  11. ตทงฺคปหาน : (นปุ.) การละด้วยองค์นั้น ๆ วิ. เตน เตน องฺเคน ปหานํ ตทงฺคปหานํ. การละกิเลสด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมี ปฐมฌานเป็นต้น วิ. ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน ปหานํ ตทงฺคปหานํ. การละ กิเลสด้วยสามารถแห่งองค์นั้น ๆ ของฌาน มีปฐมฌานเป็นต้น. วิ. ปฐมฌานาทิสฺส ตสฺส ตสฺส องฺคสฺส วเสน กิเลสสฺส ปหานํ. การละชั่วคราว.
  12. ตทงฺควิกฺขมฺภนสมุจฺเฉทปฏิปสฺสทฺธินิสฺสร – ณวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยสามารถ แห่งองค์นั้นๆ และความหลุดพ้นด้วย สามารถแห่งอันข่ม และหลุดพ้นด้วย สามารถแห่งอันสงบเฉพาะและความหลุดพ้นด้วยสามารถแห่งอันออกไป.
  13. ตทงฺควิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยองค์ นั้น ๆ, ฯลฯ คำแปลและ วิ. เลียนคำ ตทงฺคปหาน.
  14. ตทุเปต : ค. อันเข้าถึงสิ่งนั้น, ประกอบด้วยสิ่งนั้น
  15. ตาวกาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยกาลมีประมาณ เพียงนั้น, ตั้งอยู่ชั่วขณะขอยืม, ชั่วเวลา ขอยืม.
  16. ติก, ติกกฏุก : นป., ค. หมวดสาม, อย่างละสาม, ประกอบด้วยสาม
  17. ติลิงฺคิก : (วิ.) อันประกอบด้วยลิงค์สาม, เป็น ไตรลิงค์.
  18. เตกาลิก : ค. สามกาล, ประกอบด้วยสามกาล, มีสามกาล
  19. เตตฺตึส : (วิ.) (ที่) เป็นที่เกิดของเทวดาสาม สิบสององค์ วิ. เตตฺตึส เทวตา นิพฺพตฺตนฺติ เอตฺถาติ เตตฺตึส.
  20. เตธาตุก : นป. (โลก) อันประกอบด้วยธาตุสามอย่าง
  21. เถยฺยจิตฺต : (นปุ.) จิตประกอบด้วยความเป็น แห่งขโมย, จิตประกอยด้วยความเป็น ขโมย, จิตเครื่องความเป็นขโมย, เถยยจิต ไถยจิต (จิตคิดจะลัก).
  22. เถยฺยเจตนา : (อิต.) ความตั้งใจประกอบด้วย ความเป็นแห่งขโมย. ฯลฯ, ความตั้งใจ ขโมย, เถยยเจตนา ไถยเจตนา (เจตนา ในการเป็นขโมย).
  23. ทณฺฑสตฺถก : (นปุ.) มีดประกอบด้วยไม้, มีด มีด้าม.
  24. ทสพลูเปต : (วิ.) ประกอบแล้วด้วยพระ ทศพลญาณ.
  25. ทสวิธราชธมฺม : (ปุ.) ธรรมของพระราชามี อย่างสิบ, ธรรมของพระเจ้าแผ่นดินสิบ อย่าง, ทศพิธราชธรรมล ทศพิธราชธรรมเป้นหลักะรรมประจำองค์พระเจ้าแผ่นดินและเป็นคุณธรรมของผู้ปกครองบ้าน เมืองทั้งหลายด้วยมี ๑๐ อย่างคือ ทาน ศีล บริจาค อาชวะมัทวะ ตบะ อักโกธะ อวิหิงสาขันติ และอวิโรธนะ
  26. ทิพฺพโยค : ป. เครื่องประกอบอันเป็นทิพย์, เครื่องผูกอันเป็นทิพย์
  27. ทิยฑฺฒโยชนสติกมคฺค : (ปุ.) ทางอัน ประกอบแล้วด้วยร้อยแห่งโยขนืที่สองทั้ง กึ่ง, ทางอันประกอบด้วยร้อยห้าสิบโยชน์, ทางหนึ่งร้อยห้าสิบโยชน์. เป็น วิเสสน-บุพ. กัม มี ฉ. ตัป., วิเสสหบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  28. ทีฆโลมก : (ปุ.) อาสนะพิเศษประกอบด้วย ขนยาว, ผ้าโกเชาว์ใหญ่ขนยาว.
  29. ทุพฺพลภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง...ผู้มีกำลัง อันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ, ความเป็นคนทุรพล, ความเป็นผู้ทุรพล. วิ.ทุพฺพลสฺส ภาโว ทุพฺพลภาโว. ไทยใช้คำทุพพลภาพ ในความว่า ไม่มีกำลังที่จะประกอบการงาน ความเสื่อมถอยกำลัง อ่อนเพลียไม่สมประกอบ.
  30. ทุวคฺค : ค. ซึ่งมีพวกสอง, ซึ่งประกอบด้วยคนสองคน
  31. ทุวงฺค : (นปุ.) องค์สอง, สององค์. วิ. เทวฺ องฺคานิ ทุวงฺศํ. แปลง ทฺวิ เป็น ทุ วฺ อาคม.
  32. เทฺวจตุรงฺค : ค. ซึ่งมีองค์สี่สองหน, ซึ่งมีองค์แปด, มีแปดส่วน
  33. เทวทตฺต : (ปุ.) เทวทัต ชื่อของเจ้าโกลิย องค์หนึ่ง, พระเทวทัต. วิ. เทเวน ทินฺโน เทวทตฺโต. แปลง ทินฺน เป็น ทตฺต.
  34. เทฺววาจิก : ค. ซึ่งประกอบด้วยวาจาสอง; ผู้เปล่งวาจาสองหนคือ กล่าวถึงพระพุทธเจ้าหนหนึ่งพระธรรมหนหนึ่ง; (ญัตติ) ซึ่งตั้งสองครั้ง
  35. เทฺวฬฺหกจิตฺต : ค. ผู้มีจิตประกอบด้วยความสงสัย, ผู้มีใจลังเล, ผู้ไม่แน่ใจ
  36. โทมนสฺสสหคต : ค. ซึ่งสหรคตด้วยโทมนัส, ซึ่งประกอบด้วยโทมนัส
  37. โทวจสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยยาก, ฯลฯ. ทุวจ+ณฺยปัจ. ดู โทมนสฺสประกอบ. รูปฯ๓๗๑
  38. โทวาริก : (วิ.) ผู้ประกอบที่ประตู วิ. ทฺวาเร นิยุตฺโต โทวาริโก. ผู้รักษาซึ่งประตู ผู้เฝ้าประตู วิ. ทฺวารํ รกฺขิโค โทวาริโก. ณิก ปัจ. ครัต๎ยาทิตัท. ลง โอ อาคมหน้าศัพท์ รูปฯ ๓๖๐
  39. โทสสญฺญิต, - สญฺหิต : ค. ซึ่งประกอบด้วยโทษ
  40. ธชวนฺตุ : ค. ผู้ประกอบด้วยธง, ผู้มีธง, ผู้ถือธง
  41. ธนิก : (ปุ.) คนผู้ประกอบด้วยทรัพย์, คนมั่งมีทรัพย์, คนรวย, เจ้าหนี้. ส. ธนิก.
  42. ธมฺมกาย : (ปุ.) กองแห่งธรรม, หมวดแห่ง ธรรม, หมู่แห่งธรรม. ธมฺม+กาย. ธรรม กาย คือพระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้, ธมฺมก+อาย. การประกอบด้วยธรรม, กาย มีธรรม. ธมฺม+ยุตฺต+กาย.
  43. ธมฺมปณฺณาการ : ป. ธรรมบรรณาการ, ของขวัญอันประกอบด้วยธรรม
  44. ธมฺมมิลฺล : (ปุ.) ผมที่ถัก (ประกอบด้วยแก้วมุก ดาเป็นต้น) วิ. กุสุมคพฺภา เกสา เกสจูฬา มุตฺตาทินา พหิสํยตา สนฺตตา ธมฺมิลฺโลนาม. เอกโต กตฺวา ธรียติ พนฺธียตีติ ธมฺมิลโล. ธรฺ ธารเณ, อิโล, รสฺส มตฺตํ, ทฺวิตฺตํ, ลสฺส ลลตฺตํ จ. ฎีกาอภิฯ ไม่แปลง ล เป็น ลฺล จึงเป็น ธมฺมิล. ส. ธมฺมิลฺล.
  45. ธมฺมยุตฺต : (ปุ.) ธรรมยุต พระธรรมยุต (ผู้ประกอบด้วยความถูกต้อง) ชื่อพระสงฆ์ ฝ่ายเถรวาทนิกายหนึ่ง.
  46. ธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺค : (นปุ.) องค์แห่งะรรมเป็นเครื่องตรัสรู้คือการเลือกเฟ้นซึ่งธรรม ฯลฯ.
  47. ธมฺมาธิฐาน : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งธรรม, การตั้งไว้ซึ่งสภาวะ, ธรรมาธิษฐาน คือ การยกหลักธรรมหรือสิ่งที่เป็นนามธรรมล้วนๆมาตั้งหรืออธิบาย. การอธิบายธรรมล้วนๆ ไม่มีสัตว์บุคคลเข้าประกอบ เรียก ว่าธรรมาธิษฐาน. คู่กันกับปุคลาธิษฐาน. ส. ธรฺมาธิษฺฐาน.
  48. ธมฺมิก : (วิ.) ประกอบในธรรม, ตั้งอยู่ในธรรม, ทรงธรรม, เป็นไปในธรรม, เลื่อมใสในธรรม, ประพฤติธรรม, เป็นของมีอยู่แห่งธรรม. ณิก ปัจ. ตรัต์ยาทิตัท.
  49. ธมฺมิกถา ธมฺมีกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่อง กล่าวประกาศด้วยธรรม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรม, ถ้อยคำอันเป็นไปในธรรม, คำพูดอันเป็นไปในธรรม, การพูดด้วยเรื่องธรรม, ถ้อยคำที่ประกอบ ด้วยเหตุผล, ถ้อยคำที่มีเหตุผล. ธมฺม+กถา อิ, อี อาคม.
  50. ธาตุก : ค. มีธาตุ, ประกอบด้วยธาตุ
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-370

(0.0382 sec)