Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: องค์ประกอบ, ประกอบ, องค์ , then ประกอบ, องค, องค์, องค์ประกอบ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : องค์ประกอบ, 370 found, display 151-200
  1. ธุตงฺค ธูตงฺค : (นปุ.) องค์อันเป็นเครื่องกำจัด ซึ่งธรรมอันเป็นอกุศล, องค์เป็นเครื่องกำ จัดกิเลส, ธุดงค์ ชื่อวัตรปฏิบัติพิเศษของ ภิกษุมี ๑๓ ข้อ.
  2. นกฺขตฺตโยค : ป. การประกอบดาวฤกษ์, การผูกดวงชะตา
  3. นขก, นขี : ค. มีเล็บ, ประกอบด้วยเล็บ
  4. นวกมฺมิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยกรรมใหม่, ผู้ ควบคุมการก่อสร้าง, ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง. วิ. นวกมฺเมน นยุตโต นวกมฺมิโก. กัจฯ และรูปฯ ลง ณิกปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ลงอิก ปัจ.
  5. นวคห นวคฺคห : (ปุ.) พระเคราะห์เก้า, พระ เคราะห์เก้าองค์, ดาวนพเคราะห์. ดาว นพเคราะห์ คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ และเกตุ.
  6. นวงฺค : (วิ.) มีองค์เก้า.
  7. นารท : (ปุ.) นารทะ พระนามของพระพุทธเจ้า องค์หนึ่ง ชื่อลูกพระพรหม ชื่อฤาษีตน หนึ่งผู้ชำนาญการพยากรณ์และผู้เป็นต้น ประดิษฐ์ดนตรี ชื่ออำมาตย์. ส. นารท.
  8. นาวิก : (วิ.) ผู้เที่ยวไปด้วยเรือ, ผู้ข้ามด้วยเรือ, ผู้ข้ามแม่น้ำด้วยเรือ, ผู้ประกอบในเรือ, ผู้เป็นใหญ่ในเรือ. วิ. นาวาย จรตีตี นาวิโก. เป็นต้น. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  9. นิพฺพานสวตฺตนิก : ค. อันประกอบในความเป็นไปพร้อมเพื่อนิพพาน, มีอันยังสัตว์ให้เป็นไปพร้อมเพื่อความถึงซึ่งพระนิพพาน, อันยังสัตว์ให้เป็นไปในพระนิพพาน
  10. นิยุชฺชน นิยุญชน : (นปุ.) การประกอบเข้า, ความประกอบเข้า. นิปุพฺโพ, ยชฺ โยเค, ยุ. ซ้อน ชฺ ศัพท์หลังลงนิคคหิตอาคม.
  11. นิยุตฺต : ค. อันขวนขวายแล้ว, อันประกอบแล้ว, ผู้อัน...สั่งแล้ว
  12. นิโยค : (ปุ.) การประกอบเข้า, การพยายาม, การยึดถือ, การแต่งตั้ง, ความประกอบเข้า, ฯลฯ, คำสั่ง, แบบแผน. นิปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ, ชสฺส โค. ส. โยค.
  13. นิโยชก : ค. ผู้ประกอบ, ผู้ขวนขวาย
  14. นิโยชน : (นปุ.) การส่งไป, การส่งเสริม, การประกอบเข้า, การรวมเข้า, การสั่ง, การสั่งให้ทำ. ยุ ปัจ. ส. นิโยชน.
  15. นิโยเชติ : ก. ประกอบ, กระทำ, รบเร้า, ส่งเสริม
  16. ปญฺจงฺคุลิก : ค. ประกอบด้วยนิ้วทั้งห้า
  17. ปฏิมณฺฑิต : กิต. (อันเขา) ตกแต่งแล้ว, ประดับแล้ว; ตกแต่งแล้ว, ประดับประดาแล้ว, ประกอบแล้ว
  18. ปฏิสยุตฺต : ค. ซึ่งเกี่ยวข้อง, ซึ่งประกอบ
  19. ปตฺตปิณฺฑิกงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภิกษุผู้มีการถือเอาอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันเฉพาะในบาตร เป็นวัตร, ปัตตปิณฑิกังคะ ชื่อธุดงค์อย่างที่ ๖ ในธุดงค์ ๑๓.
  20. ปทวิคฺคห : ป. การวิเคราะห์บท, การแยกคำออกอธิบาย, การกระจายบทสมาสออกให้เห็นส่วนประกอบ, บทวิเคราะห์
  21. ปเทสโพธิสตฺต : ป. ผู้เป็นพระโพธิสัตว์เพียงบางส่วน คือประกอบด้วยลักษณะของพระโพธิสัตว์แต่เพียงบางประการ
  22. ปโทสิก : ค. ซึ่งประกอบด้วยโทษ, ซึ่งเสียหาย, ซึ่งเป็นความผิด
  23. ปธานิก : ค. ผู้บำเพ็ญเพียร, ผู้ประกอบความเพียร
  24. ปธานิย : ค. ซึ่งเนื่องด้วยความเพียร, ซึ่งควรประกอบความเพียร
  25. ปปญฺจสญฺญาสงฺขา : อิต. ส่วนแห่งสัญญาอันประกอบด้วยปปัญจธรรม, ความคิดความกำหนดหมายที่หน่วงเหนี่ยวจิต, ความคิดปักใจ
  26. ปพฺพนิย : ค. ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งหรือตอนหนึ่ง, ซึ่งประกอบด้วย, ซึ่งเนื่องใน, ซึ่งจัดอยู่ใน
  27. ปยุชฺชน ปยุญฺชน : (นปุ.) การประกอบ, ความประกอบ, ความประกอบยิ่ง. ปปุพฺโพ, ยุชฺ โยเค, ยุ. แปลง ช เป็น ชฺช ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม.
  28. ปยุญฺชติ : ก. ประกอบ, เทียม, ใช้, ประยุกต์, นำไปใช้
  29. ปยุตฺต : กิต. (อันเขา) ประกอบแล้ว, เทียมแล้ว, นำไปใช้แล้ว, ประยุกต์แล้ว, ตั้งใจแล้ว, ขวนขวายแล้ว, แต่งขึ้นแล้ว, ลงมือทำแล้ว, วางแผนแล้ว
  30. ปยุตฺตก : ค., ป. ผู้ที่เขาประกอบขึ้น, ผู้ที่เขาแต่งตั้งขึ้น, ผู้ที่เขาใช้งาน; คนงาน, คนรับจ้าง, จารบุรุษ
  31. ปโยค : (ปุ.) การประกอบ, ฯลฯ, การประกอบเข้า, ความพยายามเป็นเครื่องประกอบ, ความพยายาม, ฯลฯ, ประโยคเป็นชื่อของคำพูดที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่งๆ อย่าง ๑ เป็นชื่อของความรู้เช่นเปรียญธรรม ๓ ประโยค อย่าง ๑ เป็นชื่อของการทำทางกายทางวาจา เรียกว่า กายประโยค วจีประโยค อย่าง ๑ วิ. ปยุชฺชนํ ปโยโค. ป+ยุชฺ+ณ ปัจ. แปลง ช เป็น ค. ส. ปฺรโยค.
  32. ปโยคกรณ : นป. การกระทำความเพียร, การกระทำความมุ่งมั่นบากบั่น, การประกอบกิจ
  33. ปโยคตา : อิต. ความประกอบ, ความนำไปใช้
  34. ปโยควิปตฺติ : อิต. ความวิบัติแห่งความพยายาม, ความไม่สำเร็จแห่งวิธีการ, การประกอบผิดทาง
  35. ปโยคสมฺปตฺติ : อิต. ความถึงพร้อมแห่งความพยายาม, ความสำเร็จแห่งการประกอบความพยายาม
  36. ปโยคสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งความพยายาม, ความหมดจดแห่งการประกอบความพยายาม
  37. ปโยคหีน : ค. ซึ่งเสื่อมจากความพยายาม, ซึ่งบกพร่องในการประกอบความพยายาม
  38. ปโยชก : ค. ผู้ประกอบ, ผู้แนะนำ, ผู้จัดการ
  39. ปโยชน : (นปุ.) การรับใช้, การส่งไป, สิ่งอันเหตุพึงทำให้สำเร็จ, ผลอันสำเร็จมาจาก เหตุ. วิ. ยํ ผลํ เหตุนา โยเชตพฺพํ ปวตฺตพฺพํ ตสฺมา ตํ ผลํ ปโยชนํ. ปปุพฺโพ, ยุชฺ ปวตฺติยํ, ยุ. สิ่งอันบุคคลพึงประกอบ ( เพราะเป็นสิ่งที่ให้คุณ ) , ความดี, วิ. ปโยเชตพฺพนฺติ ปโยชนํ. ยุชฺ โยเค. ไทย ประโยชน์ ใช้ในความหมายว่า สิ่งที่มีผลใช้ได้ดีสมกับที่คิดมุ่งหมายไว้ หรือผลที่ได้ตามต้องการสิ่งที่เป็นผลดี สิ่งที่เป็นคุณ. ส. ปฺรโยชน.
  40. ปโยชิต : กิต. (อันเขา) ประกอบแล้ว, นำไปปฏิบัติแล้ว, กระตุ้นแล้ว, เร่งเร้าแล้ว, แนะนำแล้ว, เชื่อมต่อแล้ว
  41. ปโยเชติ : ก. ประกอบ, ใช้, นำไปปฏิบัติ, ลงมือทำ, ประยุกต์, บรรจุในหน้าที่, จ้าง, ตระเตรียม; ท้าทาย
  42. ปโยเชตุ : ป. ผู้ประกอบ, ผู้ใช้, ผู้จัดการ, ผู้สั่งการ
  43. ปสุต : ค. ขวนขวายแล้ว, ประกอบแล้ว, กระทำแล้ว
  44. ปีติสมฺโพชฺฌงฺค : ป. องค์แห่งธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้ คือปีติ
  45. ปีติสหคต : ค. ซึ่งประกอบด้วยปีติ
  46. ปุพฺพปโยค : (ปุ.) การประกอบทั่วก่อน, ความประกอบก่อน, ประโยคแรก, บุพประโยค บุรพประโยค (ความพยายามเบื้องต้นของการทำ).
  47. ปุพฺพาสาฬฺห ปุพฺพาสาฬฺหมาส : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยอาสาฬหฤกษ์เบื้อง ต้น, เดือนแปดแรก, เดือนแปดก่อน, เดือนแปดต้น.
  48. ปุเรจาริก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยอันเที่ยวไปก่อน, ผู้ประ กอบด้วยอันเที่ยวไปในเบื้องหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้เที่ยวไปข้างหน้า, เป็นเครื่องนำหน้า, เป็นอารมณ์. ณิก ปัจ. สกัด.
  49. โปฏฺฐปทมาส : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยวันเพ็ญรวมนักษัตรโปฏฐปทา, เดือน ๑๐, กันยายน, เดือนกันยายน.
  50. ผคฺคุนมาส : (ปุ.) เดือนอันมีพระจันทร์เสวยนักษัตรผคฺคุนี, เดือนประกอบ ด้วยผัคคุนฤกษ์, เดือน ๔, มีนาคม, เดือนมีนาคม. เป็น ผคฺคุณมาส บ้าง.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-370

(0.0400 sec)