Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: องค์ประกอบ, ประกอบ, องค์ , then ประกอบ, องค, องค์, องค์ประกอบ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : องค์ประกอบ, 370 found, display 201-250
  1. ผลสมาปตฺติ : (อิต.) สมาบัติอันประกอบพร้อมแล้วด้วยผล.
  2. ผสฺส : (ปุ.) อันกระทบ, อันถูกต้อง, การกระทบ, การถูกต้อง, ความกระทบ, ความถูกต้อง. วิ. ผุสนํ ผสฺโส. ผัสสะ อารมณ์ วิ. ผุสิยเตติ ผสฺโส ผุสิตพฺโตติ วา ผสฺโส. ผุสฺ สมฺผสฺเส, อ, ผสสฺส ผสฺโส (แปลง ผุส เป็น ผสฺส). อภิฯ. รูปฯ ๕๖๑ ลง ณ ปัจ. สัมปยุตตธรรม ประกอบด้วยสิ่งนั้น ชื่อผัสสะแต่ละอย่าง เช่น ตากระทบรูป เป็นต้น.
  3. ผุสฺส : (ปุ.) ผุสสะ พระนามของพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง.
  4. พินฺทุสาร : ป. ชื่อพระราชาแห่งประเทศอินเดียองค์หนึ่งผู้เป็นพระชนกของพระเจ้าอโศกมหาราช
  5. พุทฺธนฺตร : (นปุ.) ระหว่างแห่งพระพุทธเจ้า, ระยะแห่งพระพุทธเจ้า, พุทธันดร คือ ระยะเวลาระหว่างพระพุทธเจ้า, พุทธันดร คือ ระยะเวลาระหว่างพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งกับพระพุทธเจ้าอีกพระ องค์หนึ่ง.
  6. พุทฺธรูป : (นปุ.) รูปของพระพุทธเจ้า, รูปที่ช่างทำขึ้นแทนองค์พระพุทธเจ้า.
  7. โพชฺฌงฺค : (ปุ.) ธรรมเป็นองค์แห่งธรรมเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นองค์แห่งญาณเครื่องตรัสรู้, โพชฌงค์ ชื่อ พระปริตรที่พระสงฆ์สวดให้คนเจ็บไข้ฟัง มีธรรมะ ๗ ข้อ.
  8. ภณฺฑาคาริก : (วิ.) ผู้ประกอบในเรือนคลัง, ผู้รักษาเรือนคลัง, ฯลฯ.
  9. ภวงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภพ, ภวังค์ คือส่วนที่สืบต่อระหว่างปฏิสนธิกับจุติ อีกอย่างหนึ่ง คือภพของจิต ที่อยู่ของจิต.
  10. ภวงฺคจิตตฺ : (นปุ.) จิตเป็นองค์แห่งภพ, จิตตกลงสู่กระแสภวังค์, จิตเป็นภวังค์, ภวังคจิต คือ จิตตกลงสู่กระแสภวังค์ เป็นอยู่โดยไม่รู้สึกตัว สืบต่อไว้ซึ่งภพ บังเกิดติดต่อกันดุจกระแสน้ำไหล ทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่ อีกบรรยายหนึ่งจิตที่เกิดต่อจากปฏิสนธิ จิตทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่เท่าที่อายุของสังขารจะอยู่ได้ในภพที่ปฏิสนธิ (เกิด) นั้น เกิดดับโดยไม่ขาดสายจนกว่าจะถึงจุติจิต (ตาย) จิตนั้นจะขาดจากภวังค์เมื่อขึ้นสู่วิถีรับอารมณ์ทางทวารทั้ง ๖ ก็ขาดจากภวังค์ เมื่อรับอารมณ์แล้ว จิตก็ตกกระแสภวังค์ต่อไป วนอยู่อย่างนี้.
  11. ภวโยค : (ปุ.) เครื่องมัดสัตว์คือความพอใจในความมีความเป็น, เครื่องมัดสัตว์ คือความประกอบอยู่ในภพ.
  12. ภาวนานุโยค : ป. การตามประกอบภาวนา
  13. ภูริปญฺญ : (วิ.) ผู้มีปัญญาราวกะว่าแผ่นดิน, ผู้มีปัญญากว้างขวางดังแผ่นดิน, ผู้มีปัญญากว้างขวางดุจแผ่นดิน, ผู้ประกอบด้วยปัญญากว้างขวางเสมอด้วยแผ่นดิน.
  14. มคฺคจิตฺต : (นปุ.) จิตประกอบแล้วด้วยมรรค, จิตประกอบด้วยมรรค.
  15. มคฺคสมงฺคี : (วิ.) ประกอบด้วยมรรค, มีมรรคสมบูรณ์.
  16. มชฺฌณฺหิกกาล : (ปุ.) กาลประกอบแล้วในท่ามกลางแห่งวัน, เวลาเที่ยงวัน, เที่ยงวัน.
  17. มชฺฌิมาปฏิปทา : (อิต.) การปฏิบัติอันมีในท่ามกลาง, ข้อปฏิบัติอันเป็นกลาง, ข้อปฏิบัติอันเป็นสายกลาง, มัชฌิมาปฏิปทา ทางสายกลางคือมรรค (อริยมรรค) มีองค์ ๘.
  18. มหากจฺจายน : (ปุ.) พระมหากัจจายนะ ชื่อ พระเถระครั้งพุทธกาลองค์หนึ่ง ซึ่งเป็นเอตทัคคะในการบรรยายธรรมให้พิสดาร.
  19. มหาการุณิก : (วิ.) ประกอบด้วยความกรุณามาก, ประกอบด้วยพระมหากรุณา เป็นคุณบทของพระพุทธเจ้า.
  20. มหาราช : (ปุ.) พระราชาที่มหาชนเคารพ, พระราชาผู้ใหญ่, มหาราช. พระมหาราช. พระราชาที่ทรงทำประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติเหนือกว่าพระราชาองค์อื่นๆ. พสกนิกรจะถวายพระนามว่า มหาราช เช่น สมเด็จพระนเรศวร พระเจ้าตากสิน เป็นต้น. เพื่อเฉลิมพระเกียรติยศ. ศัพท์นี้ที่ใช้เป็น อาลปนะ สำหรับพระพูดกับพระเจ้าแผ่นดิน แปลว่า ขอถวายพระพร.
  21. มาฆ : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยดาวฤกษ์ชื่อมฆา, เดือนมาฆะ, เดือน ๓, ภุมภาพันธ์, เดือนกุมภาพันธ์. วิ. มฆาย ปุณฺณจนฺทยุตฺตาย ยุตฺโต มาโส มาโฆ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  22. มารกายิกา : ค. ประกอบด้วยหมู่มาร
  23. มิจฺฉาอาชีว : (ปุ.) ความเป็นอยู่ผิด, การเลี้ยงชีวิตในทางที่ผิด, อาชีพผิด, มิจฉาอาชีวะ มิจฉาชีพ คือการหาเลี้ยงชีวิตด้วยการประกอบกิจที่ผิดกฎหมายและศีลธรรม.
  24. เมธงฺกร : (ปุ.) เมธังกร พระนามของพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง. วิ. เมธํ กโรตีติ เมธงฺกโร.
  25. ยกฺข : (ปุ.) ยักขะ ชื่อกำเนิดเทวดาอย่าง ๑ ใน ๘ อย่าง, เทวะ, สัตว์โลก, ท้าวสักกะ,รากษส, ยักษ์ คืออมนุษย์พวกหนึ่ง รูปร่างใหญ่โต เขี้ยวโง้ง ชอบกินมนุษย์และสัตว์ เป็นบริวารของท้าวกุเวรมหาราช ท้าวกุเวรฯ กับท้าวเวสสุวัณ เป็นเทพองค์เดียวกัน. และยักขะนี้ยังเป็นคำเรียกพระขีณาสพ อีกด้วย. ยกฺขฺ ปูชายํ, อ. ยตฺปยตเน วา, โข, ตสฺส โก.
  26. ยนฺตยุตฺต : ค. ซึ่งประกอบด้วยเครื่องยนต์
  27. ยุญฺชติ : ก. ประกอบ, ก่อ, พยายาม
  28. ยุญฺชน : (นปุ.) การประกอบ. ยุชฺ โยเค, ยุ, นิคฺคหิตาคโม.
  29. ยุตฺต : กิต. ประกอบแล้ว
  30. ยุตฺต ยุตฺตก : (วิ.) ประกอบ, ควร, สมควร, ชอบ, ถูก, ถูกต้อง. ยุชฺ โยเค, โต ทฺวิตฺตํ, ชโลโป.
  31. ยุตติ : (วิ.) ประกอบ, ฯลฯ, ตกลง, จบ, เลิก, ยุกติ, ยุตติ, ยุติ. ยุกติ ยุตติ ยุติ ไทยใช้เป็นกิริยาในความว่า จบ ตกลง เลิก ลงเอย.
  32. ยุตฺติ : (อิต.) ความประกอบ, ฯลฯ, การประกอบ, ฯลฯ.
  33. โยคฺค : (วิ.) อัน...พึงประกอบ. ยุชฺ โยเค, โณฺย. แปลง ชฺย เป็น คฺค.
  34. โยคยุตฺต : ค. ซึ่งประกอบด้วยกิเลส, ถูกกิเลสผูกพัน
  35. โยชก : ค. ผู้ประกอบ, ผู้ก่อ
  36. โยชฺช : (นปุ.) ความมั่นคง, ฯลฯ, ความประกอบ, ฯลฯ.
  37. โยชน : (นปุ.) การประกอบ, การผู้ก, ฯลฯ. ยุชฺ โยเค, ยุ.
  38. โยชนา : (อิต.) การประกอบ, การผูก, การประสม, การแต่ง, การรวบรวม, โยชนา ชื่อหนังสือที่ท่านแต่งรวบ รวมอรรถบอกวิเคราะห์บอกสัมพันธ์ เป็นต้น.
  39. โยชนิก : (วิ.) ประกอบแล้วด้วยโยชน์, ประกอบด้วยโยชน์.
  40. โยตฺต โยตฺร : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องประกอบ, วัตถุเป็นเครื่องผูก, เชือก, สายพาน. วิ. โยชนฺติ อเนนาติ โยตฺตํ โยตฺรํ วา, ยุชฺ โยเค, โต, ตฺรณฺปจฺจโย. รูปฯ ๖๕๐.
  41. รชฺชกาล : (ปุ.) เวลาแห่งความเป็นพระราชา, รัชกาล คือ ระยะเวลาครองราชสมบัติของพระราชาองค์หนึ่งๆ.
  42. สงฺคณิกา : อิต. ผู้ประกอบแล้วในหมู่, ร่วมหมู่
  43. สทฺธิวิหาริก : ค. ผู้อยู่ร่วม, หมายถึงภิกษุที่บวชกับอุปัชฌาย์องค์ใดก็เป็นสัทธวิหาริกของอุปัชฌาย์องค์นั้น
  44. สปฺปีติก : ค. ประกอบด้วยความอิ่มใจ
  45. สมนฺตปาสาทิก : ค. ประกอบด้วยความชอบใจโดยรอบ
  46. สมนุยุญฺชติ : ก. ขวนขวาย, ประกอบตาม
  47. สมฺปยุตฺต : กิต. ประกอบแล้ว
  48. สมฺปโยค : (ปุ.) การประกอบทั่วพร้อม, การประกอบด้วยดี, การประกอบพร้อม, การประกอบด้วยดี, การประกอบกันฐ การประจวบกัน, การพบกัน, การประสบ. สํปปุพฺโฑ, ยุชุ โยเค, โณ, ชสฺส โค.
  49. สมฺปโยเชติ : ก. ประกอบกัน
  50. สมฺโพชฺฌงฺค : (นปุ.) องค์แห่งธรรมเป็นเครื่องบรรลุ, องค์แห่งธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-370

(0.0284 sec)