Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: องค์ประกอบ, ประกอบ, องค์ , then ประกอบ, องค, องค์, องค์ประกอบ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : องค์ประกอบ, 370 found, display 301-350
  1. อนุราช : (ปุ.) พระราชาน้อย, พระราชารอง, พระเจ้าแผ่นดินองค์รอง, พระอนุราช.
  2. อนุรุทฺธ : (ปุ.) อนุรุทธะชื่อพระเถระองค์หนึ่งครั้งพุทธกาล.
  3. อนุสนฺทหติ : ก. ๑. ตั้งไว้; ๒. ประกอบ; ๓. ประยุกต์
  4. อนุสนฺธนตา : อิต. ๑. การประกอบ; ๒. การประยุกต์
  5. อโนมทสฺสี : (ปุ.) อโนมทัสสีพระนามพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง.
  6. อปฺปิจฺฉตาทิคุณยุตฺต : (วิ.) ผู้ประกอบแล้วด้วยคุณมีความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อยเป็นต้น.เป็นฉ.ตุล.ตา ปัจ.ภาวตัท.ฉ.ตุล.วิเสสนบุพ.กัม.และต.ตัปเป็นสมาสใหญ่.
  7. อปฺปีติก : ค. ไม่ประกอบด้วยปีติ, ไม่อิ่มใจ
  8. อปราเทวตา : อิต. เทวดาองค์อื่น
  9. อพฺภูตธมฺม : (ปุ.) ธรรมน่าอัศจรรย์, อัพภูตธรรม(พระพุทธพจน์อันประกอบแล้วในธรรมไม่เคยเป็นเป็นแล้ว)ชื่อองฺค์ที่๘ของนวังค-สัตถุสาสน์.
  10. อพฺโภกาสิกงฺค : นป. องค์คุณของภิกษุผู้ถือการอยู่ในที่แจ้งเป็นวัตร
  11. อภิยุญฺชติ : ก. ประกอบ, ปฏิบัติ, กล่าวหา, สอบถาม
  12. อภิโยคี : ป. ผู้ปฏิบัติ, ผู้ประกอบความเพียร, ผู้ใคร่ครวญ
  13. อยุตฺต : ๑. นป. ความไม่ยุติธรรม, ความไม่สมควร, ความไม่ประกอบ ๒. ค. ไม่ยุติธรรม, ไม่สมควร, ไม่ประกอบ
  14. อโยค : ค. ไม่ประกอบความเพียร, ไม่มีความพยายาม, ไม่ตามประกอบ
  15. อลฺลิก : (วิ.) ประกอบด้วยความพัวพัน.อิกปัจ.
  16. อวฺยยีภาว : ป. ความเป็นของไม่สิ้น ; เป็นชื่อของสมาสซึ่งมีอัพยยศัพท์เป็นบทประกอบ
  17. อวฺยากต : ค. ซึ่งพระพุทธองค์ไม่ทรงพยากรณ์โดยประการอื่น คือ ไม่ทรงชี้ชัดลงไปว่าดีหรือชั่ว ; ที่เป็นกลางๆ
  18. อวิหิต : ค. ไม่ทำ, ไม่ประกอบ
  19. อสมนฺนาคต : ค. ไม่ประกอบ, ไม่มี
  20. อสมาหิต : ค. ไม่ตั้งมั่น, ไม่ประกอบพร้อม
  21. อสยุตฺต : ค. ไม่ผูก, ไม่ประกอบ
  22. อสหิต : ค. ไม่ประกอบด้วยประโยชน์เกื้อกูล
  23. อสารก : ค. อันไม่ประกอบด้วยสาระ, ไม่มีประโยชน์
  24. อสุสชิ : (ปุ.) พระอัสสชิชื่อพระเบญจวรรคีย์องค์ที่ ๕.
  25. อาคาริก : (ปุ.) คนผู้ประกอบในเรือน, คนอยู่ในเรือน, คนครองเรือน, คฤหัสถ์. อคาร+ณิกปัจ.แปลงกเป็นยเป็นอาคาริยบ้าง.
  26. อาณตฺติก : (วิ.) เกี่ยวด้วยการบังคับ, ประกอบด้วยการบังคับ, ฯลฯ.ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  27. อาทิกมฺม : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยกรรมอันเป็นเบื้องต้น.วิ. อาทิกมฺเมนนิยุตฺโตอาทิกมฺโม, ณปัจ.ราคาทิตัท.
  28. อาทิกมฺมิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยกรรมอันเป็นเบื้องต้น, ผู้ประกอบในกรรมอันเป็นเบื้องต้น.วิ.อาทิกมฺเมนอาทิกมฺเม วานิยุตฺโตอาทิกมฺมิโก.ณิกปัจ.ตรัต๎ยาทิตัท.
  29. อาธาร : (ปุ.) เชิง (เครื่องรองภาชนะทั่ว ๆไป), เชิงบาตร (ขาบาตร), อาธาระเป็นคำเรียกสัมพันธ์บทที่ประกอบด้วยสัตมีวิภัติ (อธิกรณ), การอุปถัมภ์, อ่าง, หม้อน้ำ, ที่ขังน้ำสระ, ร่องน้ำรอบโคนต้นไม้ (อาลวาลก).อาปุพฺโพ, ธรฺธารเณ, โณ.
  30. อาพาธิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยความป่วยไข้, ฯลฯ, ผู้มีความป่วยไข้, ฯลฯ.
  31. อาภิธมฺมิก : (วิ.) ประกอบด้วยพระอภิธรรม.วิ.อภิธมฺเมนนิยุตฺโตอาภิธมฺมิโก (ปิฏโกคมฺภึโร). ผู้เรียนพระอภิธรรมวิ. อภิธมฺมํอธิเต-ติอาภิธมฺมิโก.ผู้สวดพระอภิธรรมณิก ปัจตรัต๎ยาทิตัท.
  32. อายตนิก : ค. มีส่วน, มีภาค, ประกอบด้วยเครื่องต่อ
  33. อายุต : ค. ประกอบ, กระทำ, ผูก, ยึด, ติด; ชนะ
  34. อาโยค : (ปุ.) ความเพียรเป็นเครื่องประกอบยิ่ง, ความเพียร, การรัดเข่า, ผ้ารัดเข่า.อาปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ.
  35. อารญฺญกงฺค : นป. การสมาทานธุดงค์ คือการอยู่ป่าเป็นวัตร, องค์ของภิกษุผู้ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร
  36. อาโลปิก : ค. อันทำเป็นคำข้าว, ประกอบเป็นคำข้าว
  37. อาสาฬฺหปุณฺณมีทิวส : (ปุ. นปุ.) วันคือดิถี มีพระจันทร์เต็มดวงอันประกอบด้วย อาสาฬหฤกษ์.
  38. อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
  39. อิต : (วิ.) ประกอบ, เล่าเรียน, ร่ำเรียน, อ่าน, ท่อง, ศึกษา. อิ อชฺฌายเน, โต.
  40. อิสิปตน : นป. การตกไปของฤษี, ชื่อของสถานที่ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงปฐมเทศนา
  41. อุฏฐิต : ๑. กิต. ตั้งขึ้นแล้ว, ลุกขึ้นแล้ว; ๒. ค. ผู้ขยัน, ผู้ลุกขึ้นประกอบการงาน
  42. อุทฺเทสิกเจติย : (นปุ.) อุทเทสิกเจดีย์ เจดีย์ที่ สร้างขึ้นโดยเจตนาให้เป็นปูชนียวัตถุแทน องค์พระพุทธเจ้า เช่น พระพุทธรูป.
  43. อุปโยค : (ปุ.) การเข้าไปประกอบ, การประกอบเข้า, การใช้สอย, ความเข้าไปประกอบ, ฯลฯ. อุปปุพฺโพ, ยุชฺ โยเค, โณ. ส. อุปโยค.
  44. อุปโยควจน : (นปุ.) การกล่าวถึงสิ่งที่ถูกประกอบ, การกล่าวถึงสิ่งที่ถูกทำ, ทุติยาวิภัติ.
  45. อุปสหิต : ค. อันเขานำมาประกอบแล้ว, อันเขานำมาประยุกต์แล้ว
  46. อุปายิก : (วิ.) ประกอบด้วยอุบาย, ชอบด้วย อุบาย, อุปาย+อิก ปัจ. ควร, สมควร, ชอบ. อิก ปัจ. สกัด.
  47. อุยฺยุญฺชติ : ก. ประกอบ, ขวนขวาย, เพียร; ส่งไป
  48. อุยฺยุต : ค. ซึ่งประกอบความเพียร, มีความพยายาม
  49. อุยฺยุตฺต : ค. พยายามแล้ว, เพียรประกอบแล้ว, ขวนขวายแล้ว, ถูกส่งไปแล้ว
  50. อุยฺโยค : ป. การประกอบ, การกระทำ; การออกไป, ความเสื่อม, ความวอดวาย
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-370

(0.0334 sec)