Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเกี่ยวข้อง, เกี่ยวข้อง, ความ , then กยวของ, เกี่ยวข้อง, ความ, ความกยวของ, ความเกี่ยวข้อง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเกี่ยวข้อง, 3721 found, display 1651-1700
  1. ปาปสีล : ค. มีความชั่วเป็นปกติ, มีใจชั่วเป็นนิสัย
  2. ปาปสุปิน : นป. ความฝันชั่ว, การฝันร้าย
  3. ปาปิจฺฉ : ค. มีความปรารถนาลามก, มีความอยากอันชั่วร้าย
  4. ปามุชฺช : นป. ความปราโมทย์, ความยินดี, ความพอใจ, ความร่าเริง
  5. ปาย : ๑. ป. ความเจริญ ; ๒. ค. มาก
  6. ปารตฺถิก : ค. ผู้มีความต้องการจะข้ามฝั่ง
  7. ปารมิตา, ปารมี : อิต. บารมี, คุณความดีที่เคยสั่งสมมา, ความสูงส่งแห่งบุญ
  8. ปาราชิก : ๑. ป. อาบัติที่ทำให้ผู้ต้องขาดจากความเป็นภิกษุ; ๒. ค. ผู้แพ้, ผู้ล่วงละเมิดสิกขาบทสำคัญของภิกษุ
  9. ปาริชุญฺญ : นป. ความเสื่อม, ความทรุดโทรม, ความสูญเสีย
  10. ปาริปูริ, ปาริปูรี : อิต. ความเต็มรอบ, ความบริบูรณ์
  11. ปาริสุทฺธิ : อิต. ความบริบูรณ์, ความสะอาด, ความหมดจด
  12. ปาริสุทฺธิสีล : นป. ศีลอันบริสุทธิ์, ความเป็นอยู่อย่างบริสุทธิ์
  13. ปาสณฺฑ : นป. ความเห็นนอกรีดนอกรอย, บาป
  14. ปิงฺคลจกฺขุตา : อิต. ความเป็นผู้มีนัยน์ตาสีแดง
  15. ปิณฺฑตถ : ป. ความหมายที่ประมวลมา, ข้อความย่อ
  16. ปิณฺฑปาติกตฺต : นป. ความเป็นแห่งภิกษุผู้ถือการฉันอาหารที่ได้มาจากการบิณฑบาต
  17. ปิติ : อิต. ปิติ, ความยินดี, ความชื่นชม
  18. ปิยกมฺยตา : อิต. ความใคร่หรือความเป็นผู้ใคร่ในสิ่งอันน่ารักน่าพอใจ
  19. ปิยตฺต : นป., ปิยตา อิต. ความเป็นแห่งสิ่งหรือผู้ซึ่งน่ารักน่าพอใจ
  20. ปิยมนาปตา : อิต. ความเป็นสิ่งที่น่ารักน่าพอใจ
  21. ปิยวิปฺปโยค : ป. ความพลัดพรากจากสิ่งหรือบุคคลอันเป็นที่รัก
  22. ปิยายน : นป., - นา อิต. ความรักใคร่, ความพอใจ
  23. ปิลาปนตา : อิต. ความเป็นอยู่แต่เพียงผิวๆ
  24. ปิหน : นป. ความริษยา, ความไม่อยากให้ผู้อื่นได้ดี, ความรู้สึกไม่สบายใจในความสำเร็จของผู้อื่น; ปรารถนาที่จเป็นเช่นนั้นบ้าง
  25. ปิหาลุ : ค. มากไปด้วยความปรารถนา, อยากได้, เห็นแก่ได้
  26. ปีณน : นป. ความเอิบอิ่ม
  27. ปีณิต : ค. ซึ่งเอิบอิ่ม, ความยินดี
  28. ปีติ : อิต. ความอิ่มใจ, ความยินดี
  29. ปีติก : ค. มีความอิ่มใจ, มีความยินดี
  30. ปีติคมนีย : ค. อันควรแก่การยังบุคคลให้ถึงความอิ่มใจ
  31. ปีติปาโมชฺช : นป. ความอิ่มใจและความชื่นชูใจ
  32. ปีติผรณตา : อิต. ความแผ่ซ่านแห่งปีติ, ความมีปีติซาบซ่าน
  33. ปีติรส : นป. รสแห่งปีติ, ความรู้สึกเอิบอาบใจ
  34. ปีติโสมนสฺส : นป. ความเอิบอิ่มใจและความสุขใจ
  35. ปุคฺคลเวมตฺตตา : อิต. ความแตกต่างระหว่างบุคคล
  36. ปุจฺจณฺฑตา : อิต. ความเน่าของไข่
  37. ปุญฺญ : นป. บุญ, ความผ่องแผ้วแห่งดวงจิต, ความสะอาด, ความสุข, ความดี
  38. ปุญฺญกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งบุญ
  39. ปุญฺญกมฺม : นป. การทำบุญ, การกระทำอันเป็นไปเพื่อความดี
  40. ปุฏฺฐตฺต : นป. ความเป็นผู้อันเขาเลี้ยงดูแล้ว
  41. ปุฏน : นป. ความแตก, ความทำลาย
  42. ปุณฺณตา : อิต. ความเต็ม, ความบริบูรณ์
  43. ปุตฺตตฺต : นป. ความเป็นบุตร
  44. ปุถุคตฺตตา : อิต. ความสงัด
  45. ปุถุชฺชนตา : อิต. ความเป็นปุถุชน
  46. ปุถุตฺต : นป. ความหนา, ความกว้าง, ความมาก
  47. ปุถุปญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีปัญญากว้างขวาง
  48. ปุปฺผภาณี : ป. คนพูดเพราะคือพูดแต่ความจริง
  49. ปุพฺพการี : (ปุ.) บุคคลผู้ทำก่อนโดยปกติ,ฯลฯ, บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน, บุพพการี บุคคล. ในกฏหมาย คำบุพการี หมายถึง บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด (ทั้งสองฝ่าย). ในทางพุทธศาสนาหมาย ความกว้างกว่านี้ มีอธิบายในบุคคลหาได้ยาก ๒.
  50. ปุพฺพงจริต : นป. ความประพฤติอันมีมาก่อน, เรื่องราวที่ล่วงมาแล้ว
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | [1651-1700] | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3721

(0.1296 sec)